ข้ามไปเนื้อหา

ไพรีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไพรีน
ชื่อ
IUPAC name
pyrene
ชื่ออื่น
benzo (d,e,f) phenanthrene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ECHA InfoCard 100.004.481 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
RTECS number
  • UR2450000
  • C12=CC=C3C=CC=C4
    C=CC (C2=C34) =CC=C1
คุณสมบัติ
แม่แบบ:Carbon16แม่แบบ:Hydrogen10
มวลโมเลกุล 202.25 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ ของแข็งไม่มีสี (อาจเป็นสีเหลืองถ้าพบในบริมาณน้อยในตัวอย่างต่างๆ)
ความหนาแน่น 1.271 g/ml
จุดหลอมเหลว 145-148 °C (418-421 K)
จุดเดือด 404 °C (677 K)
0.135 mg/l
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
ระคายเคือง
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 2: Intense or continued but not chronic exposure could cause temporary incapacitation or possible residual injury. E.g. chloroformFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability (yellow): no hazard codeSpecial hazards (white): no code
2
1
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
แผนภาพแสดงตำหน่งของคาร์บอนและวงเบนซีนของไพรีนตามระบบไอยูแพค

ไพรีน (อังกฤษ: pyrene) เป็นสารประกอบโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAH) ที่มีวงเบนซีนเชื่อมติดกัน 4 วง เป็นวงแบน ลักษณะเป็นของแข็งไม่มีสี เกิดจากเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของสารประกอบอินทรีย์

ความปลอดภัย

แม้ว่าจะไม่เป็นปัญหามากเท่าเบนโซไพรีน แต่จากการศึกษาในสัตว์พบว่าไพรีนเป็นพิษต่อตับและไต

อ้างอิง

  • Birks, J. B. (1969). Photophysics of Aromatic Molecules. London: Wiley.
  • Valeur, B. (2002). Molecular Fluorescence: Principles and Applications. New York: Wiley-VCH.
  • Birks, J.B. (1975). Eximers. london: Reports on Progress in Physics.
  • Fetzer, J. C. (2000). The Chemistry and Analysis of the Large Polycyclic Aromatic Hydrocarbons. New York: Wiley.

แหล่งข้อมูลอื่น