ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไดอะมิกไทต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ /รูป
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสจห.
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Geschiebemergel.JPG|right|thumb|250px|ไดอะมิกไทต์ที่เยอรมันตะวันออก]]
[[ไฟล์:Geschiebemergel.JPG|right|thumb|250px|ไดอะมิกไทต์ที่เยอรมันตะวันออก]]


'''ไดอะมิกไทต์''' ({{lang-en|diamictite}}) คือ หินกรวดมน หรือหินกรวดเหลี่ยม (หินตะกอนชนิดหนึ่ง) ที่มีการคัดขนาดของตะกอนที่แย่มาก หรือไม่มีเลย โดยมีขนาดของเม็ดตะกอนที่หลากหลาย ซึ่ง 25% ของหินชนิดนี้เป็นเม็ดตะกอนขนาดกรวด (gravel sized; ใหญ่กว่า 2 มม.) ไดอะมิกไทต์ประกอบไปด้วยเศษหิน หรือเม็ดตะกอนขนาดใหญ่ (clast) ที่มีความหยาบ หรือกลมมนก็ได้ และเศษหินใหญ่เหล่านี้จะถูกรองรับ พยุงด้วยเศษหิน หรือเม็ดตะกอนที่เล็กกว่า (matrix) โดยที่เศษหินเหล่านี้เป็นได้ทั้งหินตะกอน หินอัคนี และหินแปร
'''ไดอะมิกไทต์''' ({{lang-en|diamictite}}) คือ หิน[[กรวด]]มน หรือหินกรวดเหลี่ยม (หินตะกอนชนิดหนึ่ง) ที่มีการคัดขนาดของตะกอนที่แย่มาก หรือไม่มีเลย โดยมีขนาดของเม็ดตะกอนที่หลากหลาย ซึ่ง 25% ของหินชนิดนี้เป็นเม็ดตะกอนขนาดกรวด (gravel sized; ใหญ่กว่า 2 มม.) ไดอะมิกไทต์ประกอบไปด้วยเศษหิน หรือเม็ดตะกอนขนาดใหญ่ (clast) ที่มีความหยาบ หรือกลมมนก็ได้ และเศษหินใหญ่เหล่านี้จะถูกรองรับ พยุงด้วยเศษหิน หรือเม็ดตะกอนที่เล็กกว่า (matrix) โดยที่เศษหินเหล่านี้เป็นได้ทั้งหินตะกอน หินอัคนี และหินแปร


ศัพท์คำนี้ถูกบัญญัติขึ้นในปี ค.ศ. 1960 โดย ฟลินท์ (Flint) ซึ่งได้อธิบายไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นหินตะกอนที่มีการคัดขนาดของเม็ดตะกอนที่ต่ำ (poorly sorted) และไม่สามารถบอกแหล่งต้นกำเนิดที่แน่นอนได้
ศัพท์คำนี้ถูกบัญญัติขึ้นในปี [[ค.ศ. 1960]] โดย ฟลินท์ (Flint) ซึ่งได้อธิบายไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นหินตะกอนที่มีการคัดขนาดของเม็ดตะกอนที่ต่ำ (poorly sorted) และไม่สามารถบอกแหล่งต้นกำเนิดที่แน่นอนได้


ส่วนใหญ่แล้ว ไดอะมิกไทต์ จะถูกเข้าใจ หรือตีความว่าเป็นหินที่เกิดจากผลของธารน้ำแข็ง แต่โดยแท้จริงแล้วหินชนิดนี้สามารถเกิดได้จากหลายกระบวนการ คือ ธารน้ำแข็ง, ภูเขาไฟระเบิด, กระบวนการใต้ทะเล,
ส่วนใหญ่แล้ว ไดอะมิกไทต์ จะถูกเข้าใจ หรือตีความว่าเป็นหินที่เกิดจากผลของธาร[[น้ำแข็ง]] แต่โดยแท้จริงแล้วหินชนิดนี้สามารถเกิดได้จากหลายกระบวนการ คือ ธารน้ำแข็ง ภูเขาไฟระเบิด กระบวนการใต้ทะเล ธรณีแปรสัณฐาน การกัดกร่อน ผุพัง การพุ่งชนโลกของหิน[[อุกาบาต]]
ธรณีแปรสัณฐาน, การกัดกร่อน ผุพัง, การพุ่งชนโลกของหินอุกาบาต


{{เรียงลำดับ|ดไอะมิกไทต์}}
[[หมวดหมู่:หิน]]
[[หมวดหมู่:หิน]]
{{โครงธรณีวิทยา}}
{{โครงธรณีวิทยา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:58, 27 มกราคม 2553

ไดอะมิกไทต์ที่เยอรมันตะวันออก

ไดอะมิกไทต์ (อังกฤษ: diamictite) คือ หินกรวดมน หรือหินกรวดเหลี่ยม (หินตะกอนชนิดหนึ่ง) ที่มีการคัดขนาดของตะกอนที่แย่มาก หรือไม่มีเลย โดยมีขนาดของเม็ดตะกอนที่หลากหลาย ซึ่ง 25% ของหินชนิดนี้เป็นเม็ดตะกอนขนาดกรวด (gravel sized; ใหญ่กว่า 2 มม.) ไดอะมิกไทต์ประกอบไปด้วยเศษหิน หรือเม็ดตะกอนขนาดใหญ่ (clast) ที่มีความหยาบ หรือกลมมนก็ได้ และเศษหินใหญ่เหล่านี้จะถูกรองรับ พยุงด้วยเศษหิน หรือเม็ดตะกอนที่เล็กกว่า (matrix) โดยที่เศษหินเหล่านี้เป็นได้ทั้งหินตะกอน หินอัคนี และหินแปร

ศัพท์คำนี้ถูกบัญญัติขึ้นในปี ค.ศ. 1960 โดย ฟลินท์ (Flint) ซึ่งได้อธิบายไว้อย่างชัดเจนว่าเป็นหินตะกอนที่มีการคัดขนาดของเม็ดตะกอนที่ต่ำ (poorly sorted) และไม่สามารถบอกแหล่งต้นกำเนิดที่แน่นอนได้

ส่วนใหญ่แล้ว ไดอะมิกไทต์ จะถูกเข้าใจ หรือตีความว่าเป็นหินที่เกิดจากผลของธารน้ำแข็ง แต่โดยแท้จริงแล้วหินชนิดนี้สามารถเกิดได้จากหลายกระบวนการ คือ ธารน้ำแข็ง ภูเขาไฟระเบิด กระบวนการใต้ทะเล ธรณีแปรสัณฐาน การกัดกร่อน ผุพัง การพุ่งชนโลกของหินอุกาบาต