ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แยกคอกวัว"

พิกัด: 13°45′26″N 100°29′56″E / 13.757266°N 100.498958°E / 13.757266; 100.498958
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
|image = 14Oct1972 Memorial P3160011.JPG
|image = 14Oct1972 Memorial P3160011.JPG
|ID = [[รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร|N003 (ESRI), 079 (กทม.)]]
|ID = [[รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร|N003 (ESRI), 079 (กทม.)]]
|location = แขวงบวรนิเวศและแขวงตลาดยอด [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|location = แขวงเสาชิงช้า แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงตลาดยอด และแขวงวัดบวรนิเวศ [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|n = ถนนตะนาว
|n = ถนนตะนาว
|s = ถนนตะนาว
|s = ถนนตะนาว

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:44, 9 ตุลาคม 2559

สี่แยก คอกวัว
แผนที่
ชื่ออักษรไทยคอกวัว
ชื่ออักษรโรมันKhok Wua
รหัสทางแยกN003 (ESRI), 079 (กทม.)
ที่ตั้งแขวงเสาชิงช้า แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงตลาดยอด และแขวงวัดบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ทิศทางการจราจร
ถนนตะนาว
» ถนนข้าวสาร
ถนนราชดำเนินกลาง
» อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
ถนนตะนาว
» แยกศาลเจ้าพ่อเสือ
ถนนราชดำเนินกลาง
» แยกผ่านพิภพลีลา (ปิ่นเกล้า-สนามหลวง)

แยกคอกวัว (อังกฤษ: Khok Wua Intersection) เป็นจุดตัดระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนตะนาวในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร

ประวัติ

เดิมเคยเป็นที่เลี้ยงวัวของแขกฮินดู ตั้งแต่บริเวณสี่แยกคอกวัวปัจจุบัน (ความปรากฏอยู่ในบทละครล้อเลียนเรื่อง ระเด่นลันได ของ พระมหามนตรี (ทรัพย์) ในสมัยรัชกาลที่ 3) จนไปถึงบริเวณคลองมอญ ในภายหลังเป็นที่ตั้งของอาคารสำนักงานสำคัญ ๆ หลายแห่งด้วยกัน เช่น ธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่ (ปัจจุบันย้ายอยู่บริเวณริมถนนพหลโยธิน ใกล้สี่แยกสะพานควาย) นอกจากนี้ยังเคยเป็นที่ทำการของสถานีวิทยุ ททท. บริษัทไทยโทรทัศน์

ต่อมาได้เกิดเพลิงไหม้ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จึงถูกรื้อทำลายอาคารทั้งหมด ปล่อยว่างอยู่นาน กระทั่งได้สร้างอนุสาวรีย์วีรชน ดังปรากฏโดดเด่นอยู่ในปัจจุบันนี้

สี่แยกคอกวัวนับเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญจุดหนึ่งของมวลชนที่จะรวมตัวเดินขบวนประท้วงในภาวะวิกฤตทางสังคมการเมืองของไทย (นอกเหนือจากสนามหลวงและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย) ทั้งในปี พ.ศ. 2516, พ.ศ. 2519, พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2553

แหล่งข้อมูลอื่น

13°45′26″N 100°29′56″E / 13.757266°N 100.498958°E / 13.757266; 100.498958