ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องนับไกเกอร์–มึลเลอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Collonyo (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: เครื่องมือตรวจสอบที่เรียกว่า “ไกเกอร์มูลเลอร์เคาน์เตอร์” (Geig...
 
Phyblas (คุย | ส่วนร่วม)
 
(ไม่แสดง 17 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 12 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
เครื่องมือตรวจสอบที่เรียกว่า “ไกเกอร์มูลเลอร์เคาน์เตอร์” (Geiger-Muller counter) ซึ่งประกอบด้วยกระบอกรับรังสี และมิเตอร์ที่มีหน้าปัดบอกปริมาณรังสีได้
[[ไฟล์:Geiger counter.jpg|thumb|เครื่องนับไกเกอร์มึลเลอร์]]
ลักษณะของไกเกอร์ประกอบด้วยกระบอกซึ่งบรรจุก๊าซอาร์กอนไว้ เมื่อนำไปวางไว้ในบริเวณที่มีการแผ่รังสี รังสีจะผ่านเข้าทางช่องด้านหน้าของกระบอก กระทบกับอะตอมของอาร์กอน ทำให้อิเล็กตรอนของอาร์กอนหลุดออกไป กลายเป็น Ar+ ก่อให้เกิดความต่างศักย์ระหว่าง Ar+ กับ e- ในหลอด ซึ่งจะแปลงค่าความต่างศักย์ออกมาเป็นตัวเลขบนหน้าปัด ค่าที่ได้นี้จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับชนิดของรังสี และความเข้มข้นของรังสีที่จะทำให้ Ar กลายเป็น Ar+ ได้มากหรือน้อย
'''เครื่องนับไกเกอร์–มึลเลอร์''' ({{lang-en|Geiger–Müller counter}}) หรือ '''เครื่องนับไกเกอร์''' ({{lang-en|Geiger counter}}) เป็นเครื่องมือวัดชนิดหนึ่งประกอบด้วยกระบอกรับ[[รังสี]] และมิเตอร์ที่มีหน้าปัดบอกปริมาณรังสีได้
ลักษณะของไกเกอร์ประกอบด้วยกระบอกซึ่งบรรจุ[[ก๊าซอาร์กอน]]ไว้ เมื่อนำไปวางไว้ในบริเวณที่มีการแผ่รังสี รังสีจะผ่านเข้าทางช่องด้านหน้าของกระบอก กระทบกับ[[อะตอม]]ของอาร์กอน ทำให้[[อิเล็กตรอน]]ของอาร์กอนหลุดออกไป กลายเป็น Ar+ ก่อให้เกิดความต่างศักย์ระหว่าง Ar+ กับ e- ในหลอด ซึ่งจะแปลงค่าความต่างศักย์ออกมาเป็นตัวเลขบนหน้าปัด ค่าที่ได้นี้จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับชนิดของรังสี และความเข้มข้นของรังสีที่จะทำให้ Ar กลายเป็น Ar+ ได้มากหรือน้อย

==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Geiger counter}}

* [http://vega.org.uk/video/programme/196 เคาน์เตอร์ไกเกอร์ทำงานอย่างไร]

[[หมวดหมู่:เครื่องมือวัด]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 05:14, 20 มิถุนายน 2566

เครื่องนับไกเกอร์มึลเลอร์

เครื่องนับไกเกอร์–มึลเลอร์ (อังกฤษ: Geiger–Müller counter) หรือ เครื่องนับไกเกอร์ (อังกฤษ: Geiger counter) เป็นเครื่องมือวัดชนิดหนึ่งประกอบด้วยกระบอกรับรังสี และมิเตอร์ที่มีหน้าปัดบอกปริมาณรังสีได้ ลักษณะของไกเกอร์ประกอบด้วยกระบอกซึ่งบรรจุก๊าซอาร์กอนไว้ เมื่อนำไปวางไว้ในบริเวณที่มีการแผ่รังสี รังสีจะผ่านเข้าทางช่องด้านหน้าของกระบอก กระทบกับอะตอมของอาร์กอน ทำให้อิเล็กตรอนของอาร์กอนหลุดออกไป กลายเป็น Ar+ ก่อให้เกิดความต่างศักย์ระหว่าง Ar+ กับ e- ในหลอด ซึ่งจะแปลงค่าความต่างศักย์ออกมาเป็นตัวเลขบนหน้าปัด ค่าที่ได้นี้จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับชนิดของรังสี และความเข้มข้นของรังสีที่จะทำให้ Ar กลายเป็น Ar+ ได้มากหรือน้อย

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Geiger counter