ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือเดินสมุทรชั้นโอลิมปิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CKM149104 (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างโดยแปลส่วนเปิดจากหน้า "Olympic-class ocean liner"
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ การแปลเนื้อหา การแปลส่วน
 
Hopefully999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
'''เรือเดินสมุทรชั้นโอลิมปิก''' ({{Lang-en|Olympic-class ocean liner}}) เป็นชั้น[[เรือเดินสมุทร|เรือเดินสมุทรขนาดใหญ่]]สัญชาติ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]จำนวน 3 ลำที่สร้างขึ้นโดยอู่ต่อเรือ[[ฮาร์แลนด์แอนด์วูลฟฟ์]] ให้กับสายการเดินเรือ[[ไวต์สตาร์ไลน์]]ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ได้แก่ [[อาร์เอ็มเอส โอลิมปิก|โอลิมปิก]] (ค.ศ. 1911) [[อาร์เอ็มเอส ไททานิก|ไททานิก]] (ค.ศ. 1912) และ[[เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก|บริแทนนิก]] (ค.ศ. 1914) เรือทั้งสามลำได้รับการออกแบบให้เป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดและหรูหราที่สุดในขณะนั้น เพื่อให้ไวต์สตาร์ไลน์ได้เปรียบในการแข่งขันด้านการขนส่งผู้โดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก
'''เรือเดินสมุทรชั้นโอลิมปิก''' ({{Lang-en|Olympic-class ocean liner}}) เป็นชั้น[[เรือเดินสมุทร|เรือเดินสมุทรขนาดใหญ่]]สัญชาติ[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]จำนวน 3 ลำที่สร้างขึ้นโดยอู่ต่อเรือ[[ฮาร์แลนด์แอนด์วูลฟฟ์]] ให้กับสายการเดินเรือ[[ไวต์สตาร์ไลน์]]ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ได้แก่ [[อาร์เอ็มเอส โอลิมปิก|โอลิมปิก]] (ค.ศ. 1911) [[อาร์เอ็มเอส ไททานิก|ไททานิก]] (ค.ศ. 1912) และ[[เอชเอ็มเอชเอส บริแทนนิก|บริแทนนิก]] (ค.ศ. 1914) เรือทั้งสามลำได้รับการออกแบบให้เป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดและหรูหราที่สุดในขณะนั้น เพื่อให้ไวต์สตาร์ไลน์ได้เปรียบในการแข่งขันด้านการขนส่งผู้โดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก


บรรทัด 4: บรรทัด 5:


ถึงแม้เรือสองลำจะประสบความสำเร็จไม่มากนัก แต่เรือเหล่านี้ก็ยังคงเป็นเรือเดินสมุทรที่โด่งดังที่สุดลำดับต้น ๆ ของโลก ทั้งเรือโอลิมปิกและไททานิกต่างก็เคยได้รับเกียรติยศในฐานะเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลก เรือโอลิมปิกครองตำแหน่งเรือที่ใหญ่ที่สุดที่สร้างโดยอังกฤษนานกว่า 20 ปี จนกระทั่งเรือ[[อาร์เอ็มเอส ควีนแมรี|ควีนแมรี]]เข้าประจำการในปี 1936 เรื่องราวของไททานิกถูกนำไปดัดแปลงเป็น[[ไททานิกในวัฒนธรรมสมัยนิยม|หนังสือ ภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์]]มากมาย ส่วนบริแทนนิก ก็เป็นแรงบันดาลใจให้กับ[[บริแทนนิค (ภาพยนตร์)|ภาพยนตร์]]ชื่อเรื่องเดียวกันในปี 2000
ถึงแม้เรือสองลำจะประสบความสำเร็จไม่มากนัก แต่เรือเหล่านี้ก็ยังคงเป็นเรือเดินสมุทรที่โด่งดังที่สุดลำดับต้น ๆ ของโลก ทั้งเรือโอลิมปิกและไททานิกต่างก็เคยได้รับเกียรติยศในฐานะเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลก เรือโอลิมปิกครองตำแหน่งเรือที่ใหญ่ที่สุดที่สร้างโดยอังกฤษนานกว่า 20 ปี จนกระทั่งเรือ[[อาร์เอ็มเอส ควีนแมรี|ควีนแมรี]]เข้าประจำการในปี 1936 เรื่องราวของไททานิกถูกนำไปดัดแปลงเป็น[[ไททานิกในวัฒนธรรมสมัยนิยม|หนังสือ ภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์]]มากมาย ส่วนบริแทนนิก ก็เป็นแรงบันดาลใจให้กับ[[บริแทนนิค (ภาพยนตร์)|ภาพยนตร์]]ชื่อเรื่องเดียวกันในปี 2000

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}

[[หมวดหมู่:ชั้นเรือ]]
[[หมวดหมู่:โอลิมปิก-คลาส โอเชียน ไลเนอร์| ]]
[[หมวดหมู่:เรือที่มีปล่องไฟสี่อัน]]
[[หมวดหมู่:ชั้นเรือโอเชียน ไลเนอร์]]
[[หมวดหมู่:เรือที่ใช้บอยเลอร์แบบสก๊อตช์ มารีน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 19:26, 2 กรกฎาคม 2567

เรือเดินสมุทรชั้นโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic-class ocean liner) เป็นชั้นเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่สัญชาติอังกฤษจำนวน 3 ลำที่สร้างขึ้นโดยอู่ต่อเรือฮาร์แลนด์แอนด์วูลฟฟ์ ให้กับสายการเดินเรือไวต์สตาร์ไลน์ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ได้แก่ โอลิมปิก (ค.ศ. 1911) ไททานิก (ค.ศ. 1912) และบริแทนนิก (ค.ศ. 1914) เรือทั้งสามลำได้รับการออกแบบให้เป็นเรือโดยสารที่ใหญ่ที่สุดและหรูหราที่สุดในขณะนั้น เพื่อให้ไวต์สตาร์ไลน์ได้เปรียบในการแข่งขันด้านการขนส่งผู้โดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก

แม้ว่าเรือโอลิมปิกซึ่งเป็นเรือลำแรกในชั้นจะมีอายุการใช้งานยาวนานถึง 24 ปี ก่อนปลดประจำการและขายเป็นเศษเหล็กในปี 1935 แต่เรือลำอื่น ๆ ในชั้นกลับมีชะตากรรมที่ต่างกัน โดยไททานิกประสบอุบัติเหตุชนภูเขาน้ำแข็งและอับปางในมหาสมุทรแอตแลนติกในระหว่างการเดินทางครั้งแรก ส่วนบริแทนนิกอับปางในระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังชนกับทุ่นระเบิดบริเวณเกาะเคียในทะเลอีเจียน ก่อนที่จะเริ่มให้บริการรับส่งผู้โดยสาร

ถึงแม้เรือสองลำจะประสบความสำเร็จไม่มากนัก แต่เรือเหล่านี้ก็ยังคงเป็นเรือเดินสมุทรที่โด่งดังที่สุดลำดับต้น ๆ ของโลก ทั้งเรือโอลิมปิกและไททานิกต่างก็เคยได้รับเกียรติยศในฐานะเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลก เรือโอลิมปิกครองตำแหน่งเรือที่ใหญ่ที่สุดที่สร้างโดยอังกฤษนานกว่า 20 ปี จนกระทั่งเรือควีนแมรีเข้าประจำการในปี 1936 เรื่องราวของไททานิกถูกนำไปดัดแปลงเป็นหนังสือ ภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์มากมาย ส่วนบริแทนนิก ก็เป็นแรงบันดาลใจให้กับภาพยนตร์ชื่อเรื่องเดียวกันในปี 2000

อ้างอิง[แก้]