ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวยูเรนัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มความสวยงาม
ป้ายระบุ: อิโมจี แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 11269521 โดย Tvcccp (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 44 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 28 คน)
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
| สีพื้นหลัง =#c0ffff
| สีพื้นหลัง =#c0ffff
| กว้าง=
| กว้าง=
| ชื่อดาว = 💙💙💙💙💙ดาวยูเรนัส💙💙💙💙💙
| ชื่อดาว = ดาวยูเรนัส
| สัญลักษณ์ =
| สัญลักษณ์ = [[ไฟล์:Uranus symbol (bold).svg|20px|⛢]]
| ภาพ = [[ไฟล์:File-Uranus, Earth size comparison without Earth.png|200px]]
| ภาพ = [[ไฟล์:Uranus Voyager2 color calibrated.png|200px]]
| discovery_ref =
| discovery_ref =
| ผู้ค้นพบ = [[วิลเลียม เฮอร์เชล]]
| ผู้ค้นพบ = [[วิลเลียม เฮอร์เชล]]
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| คาบการโคจร =
| คาบการโคจร =
| คาบดาราคติ = 30,708.1600 [[วัน]]<br /> (84.07 [[ปีจูเลียน]])
| คาบดาราคติ = 30,708.1600 [[วัน]]<br /> (84.07 [[ปีจูเลียน]])
| คาบซินอดิก = 369.65 วัน
| คาบซินอดิก = 369.55 วัน
| เดือนทางดาราคติ =
| เดือนทางดาราคติ =
| เดือนจันทรคติ =
| เดือนจันทรคติ =
บรรทัด 97: บรรทัด 97:
[[ไฟล์:Uranus rings and moons.jpg|thumb|150px|ภาพจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดง ดาวยูเรนัส วงแหวน และดวงจันทร์บริวาร]]
[[ไฟล์:Uranus rings and moons.jpg|thumb|150px|ภาพจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดง ดาวยูเรนัส วงแหวน และดวงจันทร์บริวาร]]


'''ดาวยูเรนัส''' (ภาษาอังกฤษ:Uranus ยูเรนัส หรือ '''มฤตยู''') เป็น[[ดาวเคราะห์]]ที่อยู่ห่างจาก[[ดวงอาทิตย์]]เป็นลำดับที่ 7 ใน[[ระบบสุริยะ]] จัดเป็น[[ดาวเคราะห์แก๊ส]] มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 50,724 กิโลเมตร นับได้ว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่3 ในระบบสุริยะของเรา ยูเรนัสถูกตั้งชื่อตามเทพเจ้า[[ยูเรนัส]](Ouranos) ของ[[กรีก]] สัญลักษณ์แทนดาวยูเรนัส คือ [[ไฟล์:Uranus_symbol.ant.png|15px|]] หรือ [[ไฟล์:X - Uranus B.png|10px|สัญลักษณ์ดาราศาสตร์ดาวยูเรนัส]] (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ '''ดาวมฤตยู'''
'''ดาวยูเรนัส''' ({{lang-en|Uranus}} หรือ '''มฤตยู''') เป็น[[ดาวเคราะห์]]ที่อยู่ห่างจาก[[ดวงอาทิตย์]]เป็นลำดับที่ 7 ใน[[ระบบสุริยะ]] จัดเป็น[[ดาวเคราะห์แก๊ส]] มี[[เส้นผ่านศูนย์กลาง]] 50,724 [[กิโลเมตร]] นับได้ว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่3 ใน[[ระบบสุริยะ]]ของเรา ยูเรนัสถูกตั้งชื่อตามเทพเจ้า[[ยูเรนัส]](Ouranos) ของ[[กรีก]] [[สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์|สัญลักษณ์]]แทนดาวยูเรนัส คือ [[ไฟล์:Uranus_symbol (fixed width).svg|16px|]] หรือ [[ไฟล์:Uranus monogram (fixed width).svg|16px|สัญลักษณ์ดาราศาสตร์ดาวยูเรนัส]] (ส่วนใหญ่ใช้ใน[[ดาราศาสตร์]]) ชื่อ[[ประเทศไทย|ไทย]]ของยูเรนัส คือ '''[[ดาวยูเรนัส|ดาวมฤตยู]]'''


ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์[[วิลเลียม เฮอร์เชล]](Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781)
ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์[[วิลเลียม เฮอร์เชล]](Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781)


ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี [[วงแหวน]]จางๆโดยรอบ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จาก[[หอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น]] (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี [[วงแหวนของดาวยูเรนัส|วงแหวน]]จางๆโดยรอบ


และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อ[[ยานวอยเอเจอร์ 2]] (Voyager 2) เคลื่อนผ่าน
และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อ[[ยานวอยเอเจอร์ 2]] (Voyager 2) เคลื่อนผ่าน
บรรทัด 107: บรรทัด 107:
== ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ ==
== ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ ==
=== โครงสร้างภายใน ===
=== โครงสร้างภายใน ===
บรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วย[[ไฮโดรเจน ]]และ[[ฮีเลียม ]]เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ [[แอมโมเนีย]] [[มีเทน]] ผสมอยู่ด้วย ดาวยูเรนัสแผ่ความร้อนออกจากตัวดาวน้อยมาก อาจจะเป็นเพราะภายในดาวไม่มีการยุบตัวแล้ว หรืออาจมีบางอย่างได้ปิดกั้นไว้แต่ก็ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัด นักดาราศาสตร์คาดว่า แกนของดาวยูเรนัส มีลักษณะคล้ายกับดาวเสาร์และดาวพฤหัสบดี ถัดมาเป็นแกนชั้นนอกที่เต็มไปด้วยแอมโมเนียและมีเทน ซึ่งทำให้เรามองดาวยูเรนัสมีลักษณะเป็น[[สีฟ้า]]
บรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วย[[ไฮโดรเจน ]]และ[[ฮีเลียม ]]เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ [[แอมโมเนีย]] [[มีเทน]] ผสมอยู่ด้วย ดาวยูเรนัสแผ่ความร้อนออกจากตัวดาวน้อยมาก อาจจะเป็นเพราะภายในดาวไม่มีการยุบตัวแล้ว หรืออาจมีบางอย่างได้ปิดกั้นไว้แต่ก็ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัด นักดาราศาสตร์คาดว่า แกนของดาวยูเรนัส มีลักษณะคล้ายกับดาวเสาร์และดาวพฤหัสบดี ถัดมาเป็นแกนชั้นนอกที่เต็มไปด้วยแอมโมเนียและมีเทน ซึ่งทำให้เรามองดาวยูเรนัสมีลักษณะเป็น[[สีฟ้า]]แกนกลางของดาวยูเรนัสเป็นหินแข็งเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 17,000 กิโลเมตร ล้อมไปด้วยชั้นของเหลวที่ประกอบไปด้วยนํ้าและแอมโมเนีย แมนเทิลชั้นนอกประกอบด้วยฮีเลียมเหลว ไฮโดรเจนเหลวที่ผสมกลมกลืนกับชั้นบรรยากาศ


=== คาบการหมุนรอบดวงอาทิตย์ ===
=== คาบการหมุนรอบดวงอาทิตย์ ===
บรรทัด 120: บรรทัด 120:
{{บทความหลัก|วงแหวนของดาวยูเรนัส}}
{{บทความหลัก|วงแหวนของดาวยูเรนัส}}


วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่างของดาวเสาร์ ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทรรศน์ก็จะมองไม่เห็น วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกพบโดยหอดูดาวแอร์บอร์นในปี 1977 ซึ่งเป็นยานชนิดพิเศษที่นำกล้องโทรทัศน์ไปด้วย นักดาราศาสตร์บนเครื่องบินเฝ้ามองดูดาวยูเรนัสเมื่อมีดาวฤกษ์เคลื่อนไหวมาตรงข้ามหน้าของมัน ยานวอยเอเจอร์ 2 มองดูที่วงแหวนเมื่อมันบินผ่านดาวยูเรนัส วงแหวนของดาวยูเรนัสจะแคบ วงแหวนที่กว้างที่สุดคือช่องว่างที่ใหญ่ซึ่งประกอบไปด้วยก้อนฝุ่น ยานวอเยเจอร์พบส่วนโค้งบางอย่าง ซึ่งเป็นส่วนของวงแหวนที่ไม่สมบูรณ์ วงแหวนของดาวยูเรนัสประกอบด้วยชิ้นน้ำแข็งมืดที่เคลื่อนไหว น้ำแข็งประกอบด้วยมีเทนแข็ง ชิ้นส่วนของมันอาจจะชนกันและทำให้เกิดฝุ่นที่อยู่ในช่องว่างระหว่างวงแหวน
วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่างของ[[ดาวเสาร์]] ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทรรศน์ก็จะมองไม่เห็น วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกพบโดยหอดูดาวแอร์บอร์นในปี 1977 ซึ่งเป็นยานชนิดพิเศษที่นำกล้องโทรทัศน์ไปด้วย นักดาราศาสตร์บนเครื่องบินเฝ้ามองดูดาวยูเรนัสเมื่อมีดาวฤกษ์เคลื่อนไหวมาตรงข้ามหน้าของมัน ยานวอยเอเจอร์ 2 มองดูที่วงแหวนเมื่อมันบินผ่านดาวยูเรนัส วงแหวนของดาวยูเรนัสจะแคบ วงแหวนที่กว้างที่สุดคือช่องว่างที่ใหญ่ซึ่งประกอบไปด้วยก้อนฝุ่น ยานวอเยเจอร์พบส่วนโค้งบางอย่าง ซึ่งเป็นส่วนของวงแหวนที่ไม่สมบูรณ์ วงแหวนของดาวยูเรนัสประกอบด้วยชิ้นน้ำแข็งมืดที่เคลื่อนไหว น้ำแข็งประกอบด้วยมีเทนแข็ง ชิ้นส่วนของมันอาจจะชนกันและทำให้เกิดฝุ่นที่อยู่ในช่องว่างระหว่างวงแหวน


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:17, 13 มิถุนายน 2567

ดาวยูเรนัส  ⛢
ลักษณะของวงโคจร
ต้นยุคอ้างอิง J2000
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
3,006,389,405 กม.
(20.09647190 หน่วยดาราศาสตร์)
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
2,735,555,035 กม.
(18.28605596 หน่วยดาราศาสตร์)
ระยะจุดใกล้โลกที่สุด:?
ระยะจุดไกลโลกที่สุด:?
กึ่งแกนเอก:2,870,972,220 กม.
(19.19126393 หน่วยดาราศาสตร์)
เส้นรอบวง
ของวงโคจร:
18.029 เทระเมตร
(120.515 หน่วยดาราศาสตร์)
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.04716771
คาบดาราคติ:30,708.1600 วัน
(84.07 ปีจูเลียน)
คาบซินอดิก:369.55 วัน
อัตราเร็วเฉลี่ย
ในวงโคจร
:
6.795 กม./วินาที
อัตราเร็วสูงสุด
ในวงโคจร:
7.128 กม./วินาที
อัตราเร็วต่ำสุด
ในวงโคจร:
6.485 กม./วินาที
ความเอียง:0.76986°
(6.48° กับศูนย์สูตรดวงอาทิตย์)
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
74.22988°
มุมของจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
96.73436°
จำนวนดาวบริวาร:27
ลักษณะทางกายภาพ
เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวศูนย์สูตร:
51,118 กม.
(4.007×โลก)
เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวขั้ว:
49,946 กม.
(3.929×โลก)
ความแป้น:0.0229
พื้นที่ผิว:8.084×109 กม.²
(15.849×โลก)
ปริมาตร:6.834×1013 กม.³
(63.086×โลก)
มวล:8.6832×1025กก.
(14.536×โลก)
ความหนาแน่นเฉลี่ย:1.318 กรัม/ซม.³
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
8.69 เมตร/วินาที²
(0.886 จี)
ความเร็วหลุดพ้น:21.29 กม./วินาที
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
0.718333333 วัน
(17 ชม. 14 นาที 24.00000 วินาที)
ความเร็วการหมุน
รอบตัวเอง:
2.59 กม./วินาที
(9,320 กม./ชม.)
ความเอียงของแกน:97.77°
ไรต์แอสเซนชัน
ของขั้วเหนือ:
257.31°
(17 ชม. 9 นาที 15 วินาที)
เดคลิเนชัน
ของขั้วเหนือ:
−15.175°
อัตราส่วนสะท้อน:0.51
อุณหภูมิ:55 K (ที่ยอดเมฆ)
อุณหภูมิพื้นผิว:
   เคลวิน
ต่ำสุดเฉลี่ยสูงสุด
59 K68 K
ลักษณะของบรรยากาศ
ความดันบรรยากาศ
ที่พื้นผิว:
120 กิโลปาสกาล
องค์ประกอบ:83% ไฮโดรเจน
15% ฮีเลียม
1.99% มีเทน
0.01% แอมโมเนีย
0.00025% อีเทน
0.00001% อะเซทิลีน
ไฮโดรเจนฟอสไฟด์ ปริมาณน้อยมาก
คาร์บอนมอนอกไซด์ ปริมาณน้อยมาก
เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล
ภาพจากยานวอยเอเจอร์ 2 แสดง ดาวยูเรนัส วงแหวน และดวงจันทร์บริวาร

ดาวยูเรนัส (อังกฤษ: Uranus หรือ มฤตยู) เป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นลำดับที่ 7 ในระบบสุริยะ จัดเป็นดาวเคราะห์แก๊ส มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 50,724 กิโลเมตร นับได้ว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่3 ในระบบสุริยะของเรา ยูเรนัสถูกตั้งชื่อตามเทพเจ้ายูเรนัส(Ouranos) ของกรีก สัญลักษณ์แทนดาวยูเรนัส คือ หรือ สัญลักษณ์ดาราศาสตร์ดาวยูเรนัส (ส่วนใหญ่ใช้ในดาราศาสตร์) ชื่อไทยของยูเรนัส คือ ดาวมฤตยู

ผู้ค้นพบดาวยูเรนัส คือ เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชล(Sir William Herschel) พบในปี พ.ศ. 2324 (ค.ศ. 1781)

ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) นักดาราศาสตร์จากหอดูดาวไคเปอร์แอร์บอร์น (James L. Elliot, Edward W. Dunham, and Douglas J. Mink using the Kuiper Airborne Observatory) ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสมี วงแหวนจางๆโดยรอบ

และเราก็ได้เห็นรายละเอียด ของดาวยูเรนัสพร้อมทั้งวงแหวน และดวงจันทร์บริวารในปี พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) เมื่อยานวอยเอเจอร์ 2 (Voyager 2) เคลื่อนผ่าน

ลักษณะเฉพาะทางกายภาพ

[แก้]

โครงสร้างภายใน

[แก้]

บรรยากาศชั้นนอก ประกอบด้วยไฮโดรเจน และฮีเลียม เป็นส่วนใหญ่ แต่ลึกลงไปชั้นในมีส่วนประกอบของ แอมโมเนีย มีเทน ผสมอยู่ด้วย ดาวยูเรนัสแผ่ความร้อนออกจากตัวดาวน้อยมาก อาจจะเป็นเพราะภายในดาวไม่มีการยุบตัวแล้ว หรืออาจมีบางอย่างได้ปิดกั้นไว้แต่ก็ยังไม่ทราบอย่างแน่ชัด นักดาราศาสตร์คาดว่า แกนของดาวยูเรนัส มีลักษณะคล้ายกับดาวเสาร์และดาวพฤหัสบดี ถัดมาเป็นแกนชั้นนอกที่เต็มไปด้วยแอมโมเนียและมีเทน ซึ่งทำให้เรามองดาวยูเรนัสมีลักษณะเป็นสีฟ้าแกนกลางของดาวยูเรนัสเป็นหินแข็งเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 17,000 กิโลเมตร ล้อมไปด้วยชั้นของเหลวที่ประกอบไปด้วยนํ้าและแอมโมเนีย แมนเทิลชั้นนอกประกอบด้วยฮีเลียมเหลว ไฮโดรเจนเหลวที่ผสมกลมกลืนกับชั้นบรรยากาศ

คาบการหมุนรอบดวงอาทิตย์

[แก้]

ดาวยูเรนัสโคจรรอบดวงอาทิตย์ใช้เวลา 84 ปี แกนของดาวทำมุมกับระนาบระบบสุริยะถึง 98 องศา ทำให้ฤดูกาลบนดาวยาวนานมาก คือ ด้านหนึ่งจะมีฤดูหนาว 42 ปี และอีกด้านจะร้อนนาน 42 ปี และบางที่บนดาวพระอาทิตย์จะไม่ตกเลยตลอด 42 ปี และบางที่ก็จะไม่ได้รับแสงเลยตลอด 42 ปี ที่ระยะนี้ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์แผ่มาน้อยมาก จึงทำให้กลางวันและกลางคืนของดาวยูเรนัสมีอุณหภูมิต่างกัน 2 องศาเซลเซียสเท่านั้น ทั้งนี้การหมุนรอบตัวเองของดาวยูเรนัสยังตรงข้ามกับดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ คือหมุนไปในทิศตามเข็มนาฬิกาเหมือนกันกับดาวศุกร์

ดวงจันทร์บริวาร

[แก้]

ที่ค้นพบแล้วมีทั้งหมด 27 ดวง 5 ดวงหลัก คือ มิแรนดา (Miranda) แอเรียล (Ariel) อัมเบรียล (Umbriel) ทิทาเนีย (Titania) และโอเบอรอน (Oberon) ดวงจันทร์ทิทาเนียและโอเบอรอนพบโดยเฮอร์เชล 6 ปี หลังจากที่ค้นพบดาวยูเรนัส ส่วนแอเรียลและอัมเบรียลพบโดยวิลเลียม ลาสเชลล์

วงแหวน

[แก้]

วงแหวนของดาวยูเรนัสมีความมืดมาก ผิดกับวงแหวนที่สว่างของดาวเสาร์ ถ้าไม่มองด้วยกล้องโทรทรรศน์ก็จะมองไม่เห็น วงแหวนของดาวยูเรนัสถูกพบโดยหอดูดาวแอร์บอร์นในปี 1977 ซึ่งเป็นยานชนิดพิเศษที่นำกล้องโทรทัศน์ไปด้วย นักดาราศาสตร์บนเครื่องบินเฝ้ามองดูดาวยูเรนัสเมื่อมีดาวฤกษ์เคลื่อนไหวมาตรงข้ามหน้าของมัน ยานวอยเอเจอร์ 2 มองดูที่วงแหวนเมื่อมันบินผ่านดาวยูเรนัส วงแหวนของดาวยูเรนัสจะแคบ วงแหวนที่กว้างที่สุดคือช่องว่างที่ใหญ่ซึ่งประกอบไปด้วยก้อนฝุ่น ยานวอเยเจอร์พบส่วนโค้งบางอย่าง ซึ่งเป็นส่วนของวงแหวนที่ไม่สมบูรณ์ วงแหวนของดาวยูเรนัสประกอบด้วยชิ้นน้ำแข็งมืดที่เคลื่อนไหว น้ำแข็งประกอบด้วยมีเทนแข็ง ชิ้นส่วนของมันอาจจะชนกันและทำให้เกิดฝุ่นที่อยู่ในช่องว่างระหว่างวงแหวน

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]