ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดารูมะ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ko:다루마
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 2 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.1
 
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 9 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ตุ๊กตา||ดะรุมะ (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น|ตุ๊กตา||ดารูมะ (แก้ความกำกวม)}}
[[ไฟล์:Daruma dolls.jpg|thumb|200px|ตุ๊กตาดะรุมะ ที่วัดดะรุมะจิ [[ทะกะซะกิ|เมืองทะกะซะกิ]] [[กุนมะ|จังหวัดกุนมะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]]]
[[ไฟล์:Daruma dolls.jpg|thumb|200px|ตุ๊กตาดารูมะ ที่วัดดารูมะจิ [[ทากาซากิ|เมืองทากาซากิ]] [[จังหวัดกุมมะ]] [[ประเทศญี่ปุ่น]]]]


'''ดะรุมะ''' ({{ญี่ปุ่น|だるま|daruma}}) เป็น[[ตุ๊กตา]][[ไม้]] ของ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] มีลักษณะกลมไม่มีแขนและขา โดยหน้าตาจะคล้ายคลึงกับ[[พระโพธิธรรม]] (ซึ่งชื่อว่า ดะรุมะ ในภาษาญี่ปุ่น) มีหมวดและเครา โดยส่วนมากตุ๊กตาดะรุมะจะมี[[สีแดง]] แต่อาจจะมีสีอื่นบ้าง เช่น [[สีเหลือง]] [[สีเขียว]] หรือ[[สีขาว]] ตรงบริเวณคางจะมีการเขียนคำขอพรไว้ สมัยเอโดะส่วนใบหน้าผม ของตุ๊กตาดารุมะมีลักษณะความหมายดั่งนี้ เคราคล้ายต้นสน รอบดวงหน้าคือไม้ไผ่และจมูกคือต้นพลัม ต้นไม้ทั้งหมดเป็นไม้มงคลสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีและยืนยาว สมัยปัจจุบันก็มีการเปรียบเทียบใบหน้าดังนี้คือ ขนคิ้วเป็นนกกระเรียน และมีหนวดเคราเป็นเต่า มีความหมายที่แสดงถึงชีวิตที่ยืนยาวด้วยเช่นกัน ส่วนตัวอักษรที่เขียนนั้นก็แล้วแต่ว่าเราอยากจะเขียนอักษรที่มีความหมายดีๆ ลงไป ส่วนใหญ่ก็มักจะเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าต่างๆ ภายนอกทาด้วยสีแดงให้เหมือนกับอาภรณ์ของนักบวช ตุ๊กตาดะรุมะ สามารถหาซื้อได้บริเวณ วัดพุทธในประเทศญี่ปุ่น ราคาประมาณ 1,000 เยน สำหรับตัวเล็ก (สูง 15 ซม.) ถึงราคา 10,000 เยน สำหรับตัวใหญ่ (สูง 60 ซม.)
'''ดารูมะ''' ({{ญี่ปุ่น|だるま|daruma}}) เป็น[[ตุ๊กตา]][[ไม้]] ของ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] มีลักษณะกลมไม่มีแขนและขาคล้ายตุ๊กตาล้มลุก โดยหน้าตาจะคล้ายคลึงกับ[[พระโพธิธรรม]] (ซึ่งชื่อว่า ดารูมะ ในภาษาญี่ปุ่น) มีหนวดและเครา โดยส่วนมากตุ๊กตาดารูมะจะมี[[สีแดง]] แต่อาจจะมีสีอื่นบ้าง เช่น [[สีเหลือง]] [[สีเขียว]] หรือ[[สีขาว]] ตรงบริเวณคางจะมีการเขียนคำขอพรไว้ สมัย[[เอโดะ]]ส่วนใบหน้าผมของตุ๊กตาดารุมะมีลักษณะความหมายดั่งนี้ เคราคล้ายต้นสน รอบดวงหน้าคือไม้ไผ่และจมูกคือต้น[[พลัม]] ต้นไม้ทั้งหมดเป็นไม้มงคลสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีและยืนยาว สมัยปัจจุบันก็มีการเปรียบเทียบใบหน้าดังนี้คือ ขนคิ้วเป็นนกกระเรียน และมีหนวดเคราเป็นเต่า มีความหมายที่แสดงถึงชีวิตที่ยืนยาวด้วยเช่นกัน ส่วนตัวอักษรที่เขียนนั้นก็แล้วแต่ว่าเราอยากจะเขียนอักษรที่มีความหมายดี ๆ ลงไป ส่วนใหญ่ก็มักจะเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าต่าง ๆ ภายนอกทาด้วยสีแดงให้เหมือนกับอาภรณ์ของนักบวช ตุ๊กตาดารูมะสามารถหาซื้อได้บริเวณวัดพุทธในประเทศญี่ปุ่น ราคาประมาณ 1,000 เยน สำหรับตัวเล็ก (สูง 15 ซม.) ถึงราคา 10,000 เยน สำหรับตัวใหญ่ (สูง 60 ซม.)


การขอพรกับตุ๊กตาดะรุมะ ทำได้โดยใช้หมึกสีเขียนตาดำข้างหนึ่งของตุ๊กตาและทำการขอพร และจะเก็บตุ๊กตาไว้บนหิ้ง โดยเมื่อพรสมหวังจะเติมตาอีกข้างให้สมบูรณ์ จะเห็นได้จากช่วงการเลือกตั้ง พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งจะมีการเติมตาของดะรุมะ
การขอพรกับตุ๊กตาดารูมะ ทำได้โดยใช้หมึกสีเขียนตาดำข้างหนึ่งของตุ๊กตาและทำการขอพร และจะเก็บตุ๊กตาไว้บนหิ้ง โดยเมื่อพรสมหวังจะเติมตาอีกข้างให้สมบูรณ์ จะเห็นได้จากช่วงการเลือกตั้ง พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งจะมีการเติมตาของดารูมะ


ในช่วง พ.ศ. 2538- 2543 ได้มีกลุ่มนักคุ้มครองสิทธิ ได้มีการเรียกร้องขึ้น กล่าวหาว่าวัฒนธรรมการเติมตาให้ดะรุมะ เป็นการล้อเลียนคนตาบอด
ในช่วง พ.ศ. 2538- 2543 ได้มีกลุ่มนักคุ้มครองสิทธิได้มีการเรียกร้องโดยกล่าวหาว่าวัฒนธรรมการเติมตาให้ดารูมะเป็นการล้อเลียนคนตาบอด


== เหตุที่มีสีแดง ==
== เหตุที่มีสีแดง ==
สาเหตุที่ตุ๊กตาดะรุมะมีสีแดงนั้น บ้างก็ว่าเพราะมีตำนานเล่าขานว่า พระโพธิธรรมท่านมักสวมเสื้อผ้าสีแดง บ้างก็ว่าเพราะในสมัยก่อนมีความเชื่อว่าสีแดงจะช่วยขับไล่มารร้าย และช่วยขจัดปัดเป่าเชื้อโรคฝีดาษ ([[ไข้ทรพิษ]]) ด้วย เนื่องจากมีความเชื่อว่า "เทพฝีดาษ" ที่ทำให้เกิดโรคฝีดาษนั้นไม่ชอบสีแดง ด้วยเหตุนี้คนญี่ปุ่นจึงได้มีการมอบตุ๊กตาดะรุมะให้แก่เด็กๆ เป็นของเล่น เพื่อที่ดะรุมะจะได้ช่วยขับไล่มารร้ายและโรคฝีดาษให้ไปจากเด็กๆ
สาเหตุที่ตุ๊กตาดารูมะมีสีแดงนั้น บ้างก็ว่าเพราะมีตำนานเล่าขานว่าพระโพธิธรรมท่านมักสวมเสื้อผ้าสีแดง บ้างก็ว่าเพราะในสมัยก่อนมีความเชื่อว่าสีแดงจะช่วยขับไล่มารร้าย และช่วยขจัดปัดเป่าเชื้อโรคฝีดาษ ([[ไข้ทรพิษ]]) ด้วย เนื่องจากมีความเชื่อว่า "เทพฝีดาษ" ที่ทำให้เกิดโรคฝีดาษนั้นไม่ชอบสีแดง ด้วยเหตุนี้คนญี่ปุ่นจึงได้มีการมอบตุ๊กตาดารูมะให้แก่เด็ก ๆ เป็นของเล่น เพื่อที่ดารูมะจะได้ช่วยขับไล่มารร้ายและโรคฝีดาษให้ไปจากเด็ก ๆ


อนึ่ง ในปัจจุบันนี้ได้มีการทาสีดะรุมะเป็นสีอื่นๆ นอกจากสีแดงแล้ว เช่น สีเหลือง สีขาว สีเขียว และ[[สีทอง]] เป็นต้น
อนึ่ง ในปัจจุบันนี้ได้มีการทาสีดารูมะเป็นสีอื่น ๆ นอกจากสีแดงแล้ว เช่น สีเหลือง สีขาว สีเขียว และ[[สีทอง]] เป็นต้น

และเหตุที่ตุ๊กตาดารูมะมีลักษณะคล้ายตุ๊กตาล้มลุก เพราะเป็นคติธรรมที่หมายถึง ตุ๊กตายังล้มแล้วลุกขึ้นไป ชีวิตมนุษย์ก็ต้องล้มแล้วลุกขึ้นมาได้เช่นกัน<ref>{{cite web|url=http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/3/2014-12-27/00/|title=Say..Hi!|date=27 December 2014|accessdate=27 December 2014|publisher=ช่อง 3|archive-date=2015-04-01|archive-url=https://web.archive.org/web/20150401103520/http://tv.ohozaa.com/hourly-rerun/3/2014-12-27/00/|url-status=dead}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite web |url=http://www.marumura.com/japanist_monthly/?id=617 |title=Daruma doll (Okiagari Daruma 起き上がりだるま) |author=C2 |date=13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 |work=marumura |publisher= |accessdate=10 มกราคม 2012}}
* {{cite web |url=http://www.marumura.com/japanist_monthly/?id=617 |title=Daruma doll (Okiagari Daruma 起き上がりだるま) |author=C2 |date=13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 |work=marumura |publisher= |accessdate=10 มกราคม 2012 |archive-date=2011-03-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20110303093317/http://www.marumura.com/japanist_monthly/?id=617 |url-status=dead }}
{{จบอ้างอิง}}
{{จบอ้างอิง}}
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Daruma|ดารูมะ}}


[[หมวดหมู่:ตุ๊กตา]]
[[หมวดหมู่:ตุ๊กตา]]
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรมญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:วัฒนธรรมญี่ปุ่น]]
{{โครงสิ่งประดิษฐ์}}

[[ca:Daruma]]
[[cs:Daruma]]
[[de:Daruma]]
[[en:Daruma doll]]
[[eo:Daruma]]
[[es:Daruma]]
[[fr:Daruma]]
[[hu:Daruma]]
[[id:Daruma]]
[[it:Daruma]]
[[ja:だるま]]
[[ko:다루마]]
[[oc:Daruma otoshi]]
[[pl:Daruma (lalka)]]
[[ru:Дарума]]
[[simple:Daruma]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:20, 22 กันยายน 2564

ตุ๊กตาดารูมะ ที่วัดดารูมะจิ เมืองทากาซากิ จังหวัดกุมมะ ประเทศญี่ปุ่น

ดารูมะ (ญี่ปุ่น: だるまโรมาจิdaruma) เป็นตุ๊กตาไม้ ของญี่ปุ่น มีลักษณะกลมไม่มีแขนและขาคล้ายตุ๊กตาล้มลุก โดยหน้าตาจะคล้ายคลึงกับพระโพธิธรรม (ซึ่งชื่อว่า ดารูมะ ในภาษาญี่ปุ่น) มีหนวดและเครา โดยส่วนมากตุ๊กตาดารูมะจะมีสีแดง แต่อาจจะมีสีอื่นบ้าง เช่น สีเหลือง สีเขียว หรือสีขาว ตรงบริเวณคางจะมีการเขียนคำขอพรไว้ สมัยเอโดะส่วนใบหน้าผมของตุ๊กตาดารุมะมีลักษณะความหมายดั่งนี้ เคราคล้ายต้นสน รอบดวงหน้าคือไม้ไผ่และจมูกคือต้นพลัม ต้นไม้ทั้งหมดเป็นไม้มงคลสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีและยืนยาว สมัยปัจจุบันก็มีการเปรียบเทียบใบหน้าดังนี้คือ ขนคิ้วเป็นนกกระเรียน และมีหนวดเคราเป็นเต่า มีความหมายที่แสดงถึงชีวิตที่ยืนยาวด้วยเช่นกัน ส่วนตัวอักษรที่เขียนนั้นก็แล้วแต่ว่าเราอยากจะเขียนอักษรที่มีความหมายดี ๆ ลงไป ส่วนใหญ่ก็มักจะเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าต่าง ๆ ภายนอกทาด้วยสีแดงให้เหมือนกับอาภรณ์ของนักบวช ตุ๊กตาดารูมะสามารถหาซื้อได้บริเวณวัดพุทธในประเทศญี่ปุ่น ราคาประมาณ 1,000 เยน สำหรับตัวเล็ก (สูง 15 ซม.) ถึงราคา 10,000 เยน สำหรับตัวใหญ่ (สูง 60 ซม.)

การขอพรกับตุ๊กตาดารูมะ ทำได้โดยใช้หมึกสีเขียนตาดำข้างหนึ่งของตุ๊กตาและทำการขอพร และจะเก็บตุ๊กตาไว้บนหิ้ง โดยเมื่อพรสมหวังจะเติมตาอีกข้างให้สมบูรณ์ จะเห็นได้จากช่วงการเลือกตั้ง พรรคการเมืองที่ชนะการเลือกตั้งจะมีการเติมตาของดารูมะ

ในช่วง พ.ศ. 2538- 2543 ได้มีกลุ่มนักคุ้มครองสิทธิได้มีการเรียกร้องโดยกล่าวหาว่าวัฒนธรรมการเติมตาให้ดารูมะเป็นการล้อเลียนคนตาบอด

เหตุที่มีสีแดง

[แก้]

สาเหตุที่ตุ๊กตาดารูมะมีสีแดงนั้น บ้างก็ว่าเพราะมีตำนานเล่าขานว่าพระโพธิธรรมท่านมักสวมเสื้อผ้าสีแดง บ้างก็ว่าเพราะในสมัยก่อนมีความเชื่อว่าสีแดงจะช่วยขับไล่มารร้าย และช่วยขจัดปัดเป่าเชื้อโรคฝีดาษ (ไข้ทรพิษ) ด้วย เนื่องจากมีความเชื่อว่า "เทพฝีดาษ" ที่ทำให้เกิดโรคฝีดาษนั้นไม่ชอบสีแดง ด้วยเหตุนี้คนญี่ปุ่นจึงได้มีการมอบตุ๊กตาดารูมะให้แก่เด็ก ๆ เป็นของเล่น เพื่อที่ดารูมะจะได้ช่วยขับไล่มารร้ายและโรคฝีดาษให้ไปจากเด็ก ๆ

อนึ่ง ในปัจจุบันนี้ได้มีการทาสีดารูมะเป็นสีอื่น ๆ นอกจากสีแดงแล้ว เช่น สีเหลือง สีขาว สีเขียว และสีทอง เป็นต้น

และเหตุที่ตุ๊กตาดารูมะมีลักษณะคล้ายตุ๊กตาล้มลุก เพราะเป็นคติธรรมที่หมายถึง ตุ๊กตายังล้มแล้วลุกขึ้นไป ชีวิตมนุษย์ก็ต้องล้มแล้วลุกขึ้นมาได้เช่นกัน[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Say..Hi!". ช่อง 3. 27 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-01. สืบค้นเมื่อ 27 December 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]