ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีรีส (ดาวเคราะห์แคระ)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต: แก้ไขจาก pl:1 Ceres ไปเป็น pl:(1) Ceres
Supakit prem (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 11096472 สร้างโดย 2001:FB1:31:2979:D942:DCC2:CE80:6DA7 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 42 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 14 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|ดาวเคราะห์||Ceres}}
{{ความหมายอื่น|ดาวเคราะห์แคระ||ซีรีส}}
{{กล่องข้อมูล ดาวเคราะห์
{{กล่องข้อมูล ดาวเคราะห์
| ดาวเคราะห์น้อย = yes
| ดาวเคราะห์น้อย = yes
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| กว้าง=
| กว้าง=
| ชื่อดาว = ซีรีส
| ชื่อดาว = ซีรีส
| สัญลักษณ์ = [[ไฟล์:Ceres symbol.svg|25px]]
| สัญลักษณ์ = [[ไฟล์:Ceres symbol (bold).svg|20px|⚳]]
| ภาพ = [[ไฟล์:Ceres optimized.jpg|200px]]
| ภาพ = [[ไฟล์:PIA19562-Ceres-DwarfPlanet-Dawn-RC3-image19-20150506.jpg|200px]]
| คำอธิบายภาพ = ภาพซีรีส จาก[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]
| คำอธิบายภาพ = ภาพดาวซีรีส ถ่ายโดยยาน''[[ดอว์น_(ยานอวกาศ)|ดอว์น]]'' เมื่อ 6 <br>พฤษภาคม 2558 จากระยะทาง 13,600 กิโลเมตร
| ใส่การค้นพบ? (yes/no) = yes
| ใส่การค้นพบ? (yes/no) = yes
| discovery_ref = <ref>{{cite book | last=Schmadel | first=Lutz | authorlink=Lutz D. Schmadel | title=Dictionary of minor planet names | url=http://books.google.com/?id=KWrB1jPCa8AC&pg=PA15 | edition=5th | year=2003 | publisher=Springer | location=Germany | isbn=978-3-540-00238-3 | page=15 }}</ref>
| discovery_ref = <ref>{{cite book | last=Schmadel | first=Lutz | authorlink=Lutz D. Schmadel | title=Dictionary of minor planet names | url=http://books.google.com/?id=KWrB1jPCa8AC&pg=PA15 | edition=5th | year=2003 | publisher=Springer | location=Germany | isbn=978-3-540-00238-3 | page=15 }}</ref>
| ผู้ค้นพบ = [[จูเซปเป ปีอาซซี]]
| ผู้ค้นพบ = [[จูเซปเป ปีอัซซี]]
| วันค้นพบ = [[1 มกราคม]] ค.ศ. 1801
| วันค้นพบ = [[1 มกราคม]] ค.ศ. 1801
| หลักการค้นพบ =
| หลักการค้นพบ =
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
| ชื่ออื่นๆ = A899 OF; 1943 XB
| ชื่ออื่นๆ = A899 OF; 1943 XB
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย = [[ดาวเคราะห์แคระ]]<br />[[แถบดาวเคราะห์น้อย]]
| ชนิดของดาวเคราะห์น้อย = [[ดาวเคราะห์แคระ]]<br />[[แถบดาวเคราะห์น้อย]]
| orbit_ref = <ref name="jpl_sbdb">{{cite web | last=Yeomans | first=Donald K. | date=July 5, 2007 | url=http://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=Ceres | title=1 Ceres | publisher=JPL Small-Body Database Browser | accessdate=2009-04-10 | archiveurl=https://www.webcitation.org/62D3rL5TL?url=http://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=Ceres | archivedate=2011-10-05 | url-status=live }}—The listed values were rounded at the magnitude of uncertainty (1-sigma).</ref>
| orbit_ref = <ref name="jpl_sbdb">{{cite web
| last=Yeomans | first=Donald K. | date= July 5, 2007
| url=http://ssd.jpl.nasa.gov/sbdb.cgi?sstr=Ceres
| title=1 Ceres | publisher=JPL Small-Body Database Browser
| accessdate=2009-04-10 | archiveurl = http://www.webcitation.org/62D3rL5TL |archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}—The listed values were rounded at the magnitude of uncertainty (1-sigma).</ref>
| จุดเริ่มยุค = [[26 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2005]]<br /> (JD 2453700.5)
| จุดเริ่มยุค = [[26 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2005]]<br /> (JD 2453700.5)
| ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด = 447,838,164 [[กิโลเมตร|กม.]]<br /> (2.987 [[หน่วยดาราศาสตร์]])
| ระยะจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด = 447,838,164 [[กิโลเมตร|กม.]]<br /> (2.987 [[หน่วยดาราศาสตร์]])
บรรทัด 46: บรรทัด 42:
| มีนอนิมัลลี = 27.448°
| มีนอนิมัลลี = 27.448°
| ความเอียง = 10.585°<ref name=meanplane>{{cite web
| ความเอียง = 10.585°<ref name=meanplane>{{cite web
|date=2009-04-03
|date = 2009-04-03
|title=The MeanPlane (Invariable plane) of the Solar System passing through the barycenter
|title = The MeanPlane (Invariable plane) of the Solar System passing through the barycenter
|url=http://home.comcast.net/~kpheider/MeanPlane.gif
|url = http://home.comcast.net/~kpheider/MeanPlane.gif
|accessdate = 2009-04-10
|accessdate=2009-04-10| archiveurl = http://www.webcitation.org/5glwILykY |archivedate = 2009-05-14| deadurl=no}} (produced with [http://chemistry.unina.it/~alvitagl/solex/ Solex 10] written by Aldo Vitagliano; see also [[Invariable plane]])</ref>
|archiveurl = https://www.webcitation.org/5glwILykY?url=http://home.comcast.net/~kpheider/MeanPlane.gif
|archivedate = 2009-05-14
|url-status = live
}} (produced with [http://chemistry.unina.it/~alvitagl/solex/ Solex 10] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081220235836/http://chemistry.unina.it/~alvitagl/solex/ |date=2008-12-20 }} written by Aldo Vitagliano; see also [[Invariable plane]])</ref>
| ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น = 80.410°
| ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น = 80.410°
| long_periastron =
| long_periastron =
บรรทัด 93: บรรทัด 93:
| มุมละติจูดอิคลิปติค =
| มุมละติจูดอิคลิปติค =
| มุมลองติจูดอิคลิปติค =
| มุมลองติจูดอิคลิปติค =
| อัตราส่วนสะท้อน = 0.090 ± 0.0033 ([[geometric albedo|V-band geometric]])<ref name="Li2006"/>
| อัตราส่วนสะท้อน = 0.090 ± 0.0033 <br>([[geometric albedo|V-band geometric]])<ref name="Li2006"/>
| อุณหภูมิเดี่ยว =
| อุณหภูมิเดี่ยว =
| ใส่หลายอุณหภูมิ? (yes/no) = yes
| ใส่หลายอุณหภูมิ? (yes/no) = yes
บรรทัด 115: บรรทัด 115:
}}
}}


'''ซีรีส''' ({{lang-en|Ceres}}) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''1 ซีรีส''' เป็น[[ดาวเคราะห์น้อย]]ดวงใหญ่ที่สุดและเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]]ดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน<ref name="NASADawnMission">{{cite web|url=http://www.nasa.gov/mission_pages/dawn/mission/index.html|title=NASA – Dawn at a Glance|publisher=NASA|accessdate=14 August 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D66N3T7 | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref><ref name=newscientist>
'''ซีรีส''' ({{lang-en|Ceres}}; [[สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์|สัญลักษณ์]]: [[ไฟล์:Ceres symbol (bold).svg|16px|⚳]])<ref>{{cite web |url= https://www.jpl.nasa.gov/infographics/what-is-a-dwarf-planet |author= JPL/NASA |date= 2015-04-22 |website= Jet Propulsion Laboratory |title= What is a Dwarf Planet? |access-date= 2022-01-19}}</ref> หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''1 ซีรีส''' เป็น[[ดาวเคราะห์น้อย]]ดวงใหญ่ที่สุดและเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]]ดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน<ref name="NASADawnMission">{{cite web|url=http://www.nasa.gov/mission_pages/dawn/mission/index.html|title=NASA – Dawn at a Glance|publisher=NASA|accessdate=14 August 2011|archiveurl=https://www.webcitation.org/62D66N3T7?url=http://www.nasa.gov/mission_pages/dawn/mission/index.html|archivedate=2011-10-05|url-status=live}}</ref><ref name=newscientist>{{cite web|last=Shiga|first=David|title=Dawn captures first orbital image of asteroid Vesta|url=http://www.newscientist.com/blogs/shortsharpscience/2011/07/dawn-captures-first-orbital-im.html|publisher=[[New Scientist]]|accessdate=7 August 2011|archiveurl=https://www.webcitation.org/62D66lOxH?url=http://www.newscientist.com/blogs/shortsharpscience/2011/07/dawn-captures-first-orbital-im.html|archivedate=2011-10-05|url-status=live}}</ref><ref>
{{cite book|author=Space Telescope Science Institute|title=Hubble 2008: Science year in review|publisher=NASA Goddard Space Flight Center|year=2009|page=66}}</ref> เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดย[[จูเซปเป ปีอัซซี]] นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801<ref name="hoskin"/><ref name=coffey>{{cite web|last=Coffey|first=Jerry|title=The First Asteroid Discovered|url=http://www.universetoday.com/35925/the-first-asteroid-discovered/|publisher=universetoday.com|accessdate=2 September 2011|archiveurl=https://www.webcitation.org/62D67mZQL?url=http://www.universetoday.com/35925/the-first-asteroid-discovered/|archivedate=2011-10-05|url-status=live}}</ref> ตั้งตามชื่อ[[ซีรีส (เทพปกรณัม)|ซีรีส]] เทพีโรมันแห่งการปลูกพืช เก็บเกี่ยวและความรักอย่างมารดา
{{cite web|last=Shiga|first=David|title=Dawn captures first orbital image of asteroid Vesta|url=http://www.newscientist.com/blogs/shortsharpscience/2011/07/dawn-captures-first-orbital-im.html|publisher=[[New Scientist]]|accessdate=7 August 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D66lOxH | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref><ref>
{{cite book|author=Space Telescope Science Institute|title=Hubble 2008: Science year in review|publisher=NASA Goddard Space Flight Center|year=2009|page=66}}</ref> เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดย[[จูเซปเป ปีอาซซี]] นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801<ref name="hoskin"/><ref name=coffey>{{cite web|last=Coffey|first=Jerry|title=The First Asteroid Discovered|url=http://www.universetoday.com/35925/the-first-asteroid-discovered/|publisher=universetoday.com|accessdate=2 September 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D67mZQL | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref> ตั้งตามชื่อซีรีส เทพีโรมันแห่งการปลูกพืช เก็บเกี่ยวและความรักอย่างมารดา


ซีรีสมีเส้นผ่าศูนย์กลางราว 950 กิโลเมตรและประกอบด้วยมวลหนึ่งในสามของมวลทั้งหมดใน[[แถบดาวเคราะห์น้อย]]<ref name="Pitjeva04b">Pitjeva, E. V.; [http://journals.cambridge.org/production/action/cjoGetFulltext?fulltextid=303499 ''Precise determination of the motion of planets and some astronomical constants from modern observations''], in Kurtz, D. W. (Ed.), ''Proceedings of IAU Colloquium No. 196: Transits of Venus: New Views of the Solar System and Galaxy'', 2004 {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5msUtI98q|date =2010-01-18}}</ref><ref name="Moomaw">{{cite web | first = Bruce | last =Moomaw |title= Ceres As An Abode Of Life | url = http://www.spaceblogger.com/reports/Ceres_As_An_Abode_Of_Life_999.html |accessdate= 2007-11-06 |publisher= spaceblooger.com |date= 2007-07-02}}</ref> พื้นผิวซีรีสอาจเป็นส่วนผสมของน้ำแข็งและธาตุที่ถูกไฮเดรต เช่น คาร์บอเนตและดินเหนียว<ref name="Rivkin2006"/> ซีรีสจำแนกเป็นแก่นหินและแมนเทิลน้ำแข็ง<ref name="Thomas2005"/> และอาจมีมหาสมุทรน้ำในสถานะของเหลวกักเก็บไว้ใต้พื้นผิว<ref name="McCord2005"/><ref name="Castillo-Rogez2007"/>
ดาวซีรีสมีเส้นผ่าศูนย์กลางราว 950 กิโลเมตรและประกอบด้วยมวลหนึ่งในสามของมวลทั้งหมดใน[[แถบดาวเคราะห์น้อย]]<ref name="Pitjeva04b">Pitjeva, E. V.; [http://journals.cambridge.org/production/action/cjoGetFulltext?fulltextid=303499 ''Precise determination of the motion of planets and some astronomical constants from modern observations''], in Kurtz, D. W. (Ed.), ''Proceedings of IAU Colloquium No. 196: Transits of Venus: New Views of the Solar System and Galaxy'', 2004 {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5msUtI98q|date =2010-01-18}}</ref><ref name="Moomaw">{{cite web |first= Bruce |last= Moomaw |title= Ceres As An Abode Of Life |url= http://www.spaceblogger.com/reports/Ceres_As_An_Abode_Of_Life_999.html |accessdate= 2007-11-06 |publisher= spaceblooger.com |date= 2007-07-02 |archive-date= 2008-09-29 |archive-url= https://web.archive.org/web/20080929214602/http://www.spaceblogger.com/reports/Ceres_As_An_Abode_Of_Life_999.html |url-status= dead }}</ref> พื้นผิวดาวซีรีสอาจเป็นส่วนผสมของน้ำแข็งและธาตุที่ถูกไฮเดรต เช่น คาร์บอเนตและดินเหนียว<ref name="Rivkin2006"/> จำแนกเป็นแก่นหินและแมนเทิลน้ำแข็ง<ref name="Thomas2005"/> และอาจมีมหาสมุทรน้ำในสถานะของเหลวกักเก็บไว้ใต้พื้นผิว<ref name="McCord2005"/><ref name="Castillo-Rogez2007"/>


จากโลก [[โชติมาตรปรากฏ]]ของซีรีสอยู่ระหว่าง 6.7 ถึง 9.3 ดังนั้นแม้ในช่วงสว่างที่สุดก็ไม่อาจเห็นได้ด้วยตาเปล่า ยกเว้นท้องฟ้าที่มืดอย่างยิ่ง<ref name="Pasachoff1983"/> วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 2007 [[นาซา]]ส่งยานสำรวจอวกาศดวอ์นไปสำรวจเวสตา (2011-2012) และซีรีส (2015)<ref name="Russel2006"/>
จากโลก [[โชติมาตรปรากฏ]]ของดาวซีรีสอยู่ระหว่าง 6.7 ถึง 9.3 ดังนั้นแม้ในช่วงสว่างที่สุดก็ไม่อาจเห็นได้ด้วยตาเปล่า ยกเว้นท้องฟ้าที่มืดอย่างยิ่ง<ref name="Pasachoff1983"/> วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 2007 [[นาซา]]ส่งยานสำรวจอวกาศดอว์นไปสำรวจเวสตา (2011-2012) และซีรีส (2015)<ref name="Russel2006"/>


== การค้นพบ ==
== การค้นพบ ==
แนวคิดที่ว่ามีดาวเคราะห์ที่ยังไม่ถูกค้นพบอยู่ระหว่างวงโคจรของ[[ดาวอังคาร]]กับ[[ดาวพฤหัสบดี]] ได้รับการเสนอโดยโยฮันน์ อีแลร์ต โบเดอใน ค.ศ. 1772<ref name="hoskin"/> ก่อนหน้าใน ใน ค.ศ. 1596 [[เคปเลอร์]]ได้สังเกตช่องว่างระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีแล้ว<ref name="hoskin"/> การพิจารณาของโบเดออิงกฎของทิเทียส-โบเดอ ซึ่งปัจจุบันถูกล้มล้างแล้ว ที่เสนอขึ้นครั้งแรกโดยโยฮัน ดาเนียล ทิเทียสใน ค.ศ. 1766 จากการสังเกตว่ามีรูปแบบสม่ำเสมอในกึ่งแกนเอกของดาวเคราะห์ที่ทราบกัน แต่ใช้ไม่ได้เฉพาะกับช่องว่างใหญ่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีเพียงจุดเดียว<ref name="hoskin"/><ref name="Hogg1948">{{cite journal|last=Hogg|first=Helen Sawyer|title=The Titius-Bode Law and the Discovery of Ceres|journal=Journal of the Royal Astronomical Society of Canada|volume=242|pages=241–246|year=1948| bibcode=1948JRASC..42..241S}}</ref> รูปแบบดังกล่าวทำนายว่าดาวเคราะห์ที่หายไปมีกึ่งแกนเอกที่ใกล้กับ 2.8 [[หน่วยดาราศาสตร์]]<ref name="Hogg1948"/> การค้นพบ[[ดาวยูเรนัส]]ของ[[วิลเลียม เฮอร์เชล]]ใน ค.ศ. 1781<ref name="hoskin"/> ใกล้กับระยะห่างที่ทำนายไว้จากวัตถุถัดไปจากดาวเสาร์เพิ่มความเชื่อมั่นในกฎของทิเทียสและโบเดอ และใน ค.ศ. 1800 พวกเขาส่งคำร้องไปยังนักดาราศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญยี่สิบสี่คน ร้องขอให้พวกเขาประสานงานกันและเริ่มต้นค้นหาดาวเคราะห์ที่คาดคะเนไว้อย่างเป็นระบบ<ref name="hoskin"/><ref name="Hogg1948"/> กลุ่มนี้ ซึ่งนำโดยฟรันซ์ ซาแวร์ ฟอน ซัค บรรณาธิการโมนัทลีเชอคอร์เรสปอนเดนซ์ (Monatliche Correspondenz) ขณะที่พวกเขาไม่พบซีรีส ภายหลังได้พบดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่จำนวนมาก<ref name="Hogg1948"/>
แนวคิดที่ว่ามีดาวเคราะห์ที่ยังไม่ได้รับการค้นพบอยู่ระหว่างวงโคจรของ[[ดาวอังคาร]]กับ[[ดาวพฤหัสบดี]] ได้รับการเสนอโดย[[โยฮัน เอเลิร์ท โบเดอ]] ใน ค.ศ. 1772<ref name="hoskin"/> ก่อนหน้าใน ค.ศ. 1596 [[โยฮันเนิส เค็พเพลอร์]]ได้สังเกตช่องว่างระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีแล้ว<ref name="hoskin"/> การพิจารณาของโบเดออิง[[กฎของทีทซีอุส–โบเดอ]]ซึ่งเสนอขึ้นครั้งแรกโดย[[โยฮัน ดานีเอล ทีทซีอุส]] ใน ค.ศ. 1766 จากการสังเกตว่ามีรูปแบบสม่ำเสมอในกึ่งแกนเอกของดาวเคราะห์ที่ทราบกัน แต่ใช้ไม่ได้เฉพาะกับช่องว่างใหญ่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีเพียงจุดเดียว<ref name="hoskin"/><ref name="Hogg1948">{{cite journal|last=Hogg|first=Helen Sawyer|title=The Titius-Bode Law and the Discovery of Ceres|journal=Journal of the Royal Astronomical Society of Canada|volume=242|pages=241–246|year=1948| bibcode=1948JRASC..42..241S}}</ref> รูปแบบดังกล่าวทำนายว่าดาวเคราะห์ที่หายไปมีกึ่งแกนเอกที่ใกล้กับ 2.8 [[หน่วยดาราศาสตร์]]<ref name="Hogg1948"/> การค้นพบ[[ดาวยูเรนัส]]ของ[[วิลเลียม เฮอร์เชล]] ใน ค.ศ. 1781<ref name="hoskin"/> ใกล้กับระยะห่างที่ทำนายไว้จากวัตถุถัดไปจากดาวเสาร์เพิ่มความเชื่อมั่นในกฎของทีทซีอุส–โบเดอ และใน ค.ศ. 1800 พวกเขาส่งคำร้องไปยังนักดาราศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญยี่สิบสี่คน ร้องขอให้พวกเขาประสานงานกันและเริ่มต้นค้นหาดาวเคราะห์ที่คาดคะเนไว้อย่างเป็นระบบ<ref name="hoskin"/><ref name="Hogg1948"/> กลุ่มนี้ ซึ่งนำโดย[[ฟรันทซ์ ซาเวอร์ ฟ็อน ซัค]] บรรณาธิการ ''โมนัทลิชเชอคอเร็สพ็อนเด็นทซ์'' ({{lang|de|Monatliche Correspondenz}}) ขณะที่พวกเขาไม่พบดาวซีรีส ภายหลังได้พบดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่จำนวนมาก<ref name="Hogg1948"/>


หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ถูกเลือกมาค้นหานั้นมี[[จูเซปเป ปีอาซซี]]จากสาถบันปาเลอร์โม ซิซิลี ก่อนได้รับการเชิญให้เข้าร่วมกลุ่ม จูเซปเป ปีอาซซีค้นพบซีรีสแล้วเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801<ref>{{cite book | first=Michael | last=Hoskin | year=1999
หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ได้รับการคัดเลือกมาค้นหานั้นมี[[จูเซปเป ปีอัซซี]] จากสถาบันปาแลร์โม [[ซิซิลี]] ก่อนได้รับการเชิญให้เข้าร่วมกลุ่ม จูเซปเป ปีอัซซีค้นพบดาวซีรีสแล้วเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801<ref>{{cite book | first=Michael | last=Hoskin | year=1999
| title=The Cambridge Concise History of Astronomy | publisher=Cambridge University press
| title=The Cambridge Concise History of Astronomy | publisher=Cambridge University press
| isbn=978-0-521-57600-0 | pages=160–161 }}</ref> เขากำลังค้นหา "[ดาวฤกษ์]ดวงที่ 87 ในบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์จักรราศีของคุณลา ไคลล์" แต่พบว่า "มันตามหลังอีกดวงหนึ่ง"<ref name="hoskin">{{cite web|last=Hoskin|first=Michael|date=1992-06-26|url=http://www.astropa.unipa.it/HISTORY/hoskin.html|title=Bodes' Law and the Discovery of Ceres|publisher=Observatorio Astronomico di Palermo "Giuseppe S. Vaiana"|accessdate=2007-07-05 | archiveurl = http://www.webcitation.org/5msUt6uRh | archivedate = 2010-01-18| deadurl=no}}</ref> แทนที่จะพบดาวฤกษ์ เขากลับพบวัตถุคล้ายดาวฤกษ์เคลื่อนที่ ซึ่งตอนแรกเขาคิดว่าเป็น[[ดาวหาง]]<ref name="Forbes1971">{{cite journal|last=Forbes|first=Eric G.|title=Gauss and the Discovery of Ceres|journal=Journal for the History of Astronomy|volume=2|pages=195–199|year=1971| bibcode=1971JHA.....2..195F}}</ref> ปีอาซซีสังเกตซีรีสรวม 24 ครั้ง ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1801 เมื่อความเจ็บป่วยรบกวนการเฝ้าสังเกตของเขา เขาประกาศการค้นพบของตัวเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1801 ในจดหมายถึงนักดาราศาสตร์ผู้ติดตามเพียงสองคน บาร์นาบา โอเรียนีแห่ง[[มิลาน]] เพื่อนร่วมชาติ และโบเดอแห่ง[[เบอร์ลิน]]<ref>{{cite book|author=Clifford J. Cunningham|title=The first asteroid: Ceres, 1801–2001|url=http://books.google.com/books?id=CXdMPwAACAAJ|accessdate=6 August 2011|year=2001|publisher=Star Lab Press|isbn=978-0-9708162-1-4}}</ref> เขารายงานว่ามันเป็นดาวหางแต่ "เพราะการเคลื่อนที่ของมันช้ามากและค่อนข้างมีแบบแผน มันได้ปรากฏต่อผมหลายครั้งจนมันน่าจะเป็นอะไรที่ดีกว่าดาวหาง"<ref name="hoskin"/> ในเดือนเมษายน ปีอาซซีส่งการสังเกตสมบูรณ์ของเขาไปยังโอเรียนี โบเดอและเจอโรม ลาล็องด์ในกรุง[[ปารีส]] ข้อมูลนี้ได้รับการตีพิมพ์ในโมนัทลีเชอคอร์เรสปอนเดนซ์ฉบับเดือนกันยายน ค.ศ. 1801<ref name="Forbes1971"/>
| isbn=978-0-521-57600-0 | pages=160–161 }}</ref> เขากำลังค้นหา "[ดาวฤกษ์]ดวงที่ 87 ในบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์จักรราศีของคุณ[[นีกอลา หลุยส์ เดอ ลากาย|ลากาย]]" แต่พบว่า "มันตามหลังอีกดวงหนึ่ง"<ref name="hoskin">{{cite web|last=Hoskin|first=Michael|date=1992-06-26|url=http://www.astropa.unipa.it/HISTORY/hoskin.html|title=Bodes' Law and the Discovery of Ceres|publisher=Observatorio Astronomico di Palermo "Giuseppe S. Vaiana"|accessdate=2007-07-05|archiveurl=https://www.webcitation.org/5msUt6uRh?url=http://www.astropa.unipa.it/HISTORY/hoskin.html|archivedate=2010-01-18|url-status=live}}</ref> แทนที่จะพบดาวฤกษ์ เขากลับพบวัตถุคล้ายดาวฤกษ์เคลื่อนที่ ซึ่งตอนแรกเขาคิดว่าเป็น[[ดาวหาง]]<ref name="Forbes1971">{{cite journal|last=Forbes|first=Eric G.|title=Gauss and the Discovery of Ceres|journal=Journal for the History of Astronomy|volume=2|pages=195–199|year=1971| bibcode=1971JHA.....2..195F}}</ref> ปีอัซซีสังเกตดาวซีรีสรวม 24 ครั้ง ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1801 เมื่อความเจ็บป่วยรบกวนการเฝ้าสังเกตของเขา เขาประกาศการค้นพบของตัวเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1801 ในจดหมายถึงนักดาราศาสตร์ผู้ติดตามเพียงสองคน บาร์นาบา โอรีอานี แห่ง[[มิลาน]] เพื่อนร่วมชาติ และโบเดอแห่ง[[เบอร์ลิน]]<ref>{{cite book|author=Clifford J. Cunningham|title=The first asteroid: Ceres, 1801–2001|url=http://books.google.com/books?id=CXdMPwAACAAJ|accessdate=6 August 2011|year=2001|publisher=Star Lab Press|isbn=978-0-9708162-1-4}}</ref> เขารายงานว่ามันเป็นดาวหางแต่ "เพราะการเคลื่อนที่ของมันช้ามากและค่อนข้างมีแบบแผน มันได้ปรากฏต่อผมหลายครั้งจนมันน่าจะเป็นอะไรที่ดีกว่าดาวหาง"<ref name="hoskin"/> ในเดือนเมษายน ปีอัซซีส่งการสังเกตสมบูรณ์ของเขาไปยังโอรีอานี, โบเดอ และเฌโรม ลาล็องด์ ในกรุง[[ปารีส]] ข้อมูลนี้ได้รับการตีพิมพ์ใน ''โมนัทลิชเชอคอเร็สพ็อนเด็นทซ์'' ฉบับเดือนกันยายน ค.ศ. 1801<ref name="Forbes1971"/>


ถึงขณะนี้ ตำแหน่งปรากฏของซีรีสได้เปลี่ยนไปแล้ว (ส่วนใหญ่เนื่องจากการหมุนโคจรของโลก) และใกล้แสงจ้าของดวงอาทิตย์เกินกว่าที่นักดาราศาสตร์คนอื่นจะยืนยันการสังเกตของปีอาซซีได้ ซีรีสควรมองเห็นได้อีกครั้ง แต่หลังจากเวลานานเช่นนั้น เป็นการยากที่จะทำนายตำแหน่งที่แน่ชัด เพื่อหาซีรีสอีกครั้ง [[คาร์ล ฟรีดริช เกาส์]] ซึ่งขณะนั้นอายุ 24 ปี พัฒนาวิธีการตรวจหาวงโคจรที่มีประสิทธิภาพ<ref name="Forbes1971"/> เขาจัดงานพิจารณาการเคลื่อนที่แบบเคปเลอร์จากการสังเกตสมบูรณ์สามอย่าง (เวลา ไรท์แอสเซนชั่นและเดคลิเนชั่น) ในเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ เขาทำนายทางเดินของซีรีสและส่งผลการคำนวณให้แก่ฟอน ซัค ในวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1801 ฟอน ซัคและไฮน์ริช เว เอ็ม ออลแบร์สพบซีรีสใกล้กับตำแหน่งที่ทำนายและเป็นการพบอีกครั้งหนึ่ง<ref name="Forbes1971"/>
ถึงขณะนี้ ตำแหน่งปรากฏของดาวซีรีสได้เปลี่ยนไปแล้ว (ส่วนใหญ่เนื่องจากการหมุนโคจรของโลก) และใกล้แสงจ้าของดวงอาทิตย์เกินกว่าที่นักดาราศาสตร์คนอื่นจะยืนยันการสังเกตของปีอัซซีได้ ดาวซีรีสควรมองเห็นได้อีกครั้ง แต่หลังจากเวลานานเช่นนั้น เป็นการยากที่จะทำนายตำแหน่งที่แน่ชัด เพื่อหาดาวซีรีสอีกครั้ง [[คาร์ล ฟรีดริช เกาส์]] ซึ่งขณะนั้นอายุ 24 ปี พัฒนาวิธีการตรวจหาวงโคจรที่มีประสิทธิภาพ<ref name="Forbes1971"/> เขาจัดงานพิจารณาการเคลื่อนที่แบบเคปเลอร์จากการสังเกตสมบูรณ์สามอย่าง (เวลา [[ไรต์แอสเซนชัน]] และ[[เดคลิเนชัน]]) ในเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ เขาทำนายทางเดินของดาวซีรีสและส่งผลการคำนวณให้แก่ฟ็อน ซัค ในวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1801 ฟ็อน ซัค และ[[ไฮน์ริช อ็อลเบิร์ส]] พบดาวซีรีสใกล้กับตำแหน่งที่ทำนายและเป็นการพบอีกครั้งหนึ่ง<ref name="Forbes1971"/>


การสังเกตช่วงแรกเพียงสามารถคำนวณขนาดของซีรีสได้จากลำดับความสว่างเท่านั้น แฮร์เชลประเมินขนาดมันต่ำกว่าจริงที่ 260 กิโลเมตรใน ค.ศ. 1802 ขณะที่โยฮันน์ ฮีโรนือมุส ชเรอแทร์ประเมินขนาดสูงกว่าจริงที่ 2,613 กิโลเมตร<ref>{{cite web
การสังเกตช่วงแรกเพียงสามารถคำนวณขนาดของดาวซีรีสได้จากลำดับความสว่างเท่านั้น แฮร์เชลประเมินขนาดมันต่ำกว่าจริงที่ 260 กิโลเมตรใน ค.ศ. 1802 ขณะที่โยฮันน์ ฮีโรนีมุส ชเรอเทอร์ ประเมินขนาดสูงกว่าจริงที่ 2,613 กิโลเมตร<ref>{{cite web
| last =Hilton | first = James L |authorlink=James L. Hilton
| last =Hilton | first = James L |authorlink=James L. Hilton
|title=Asteroid Masses and Densities
|title=Asteroid Masses and Densities
บรรทัด 148: บรรทัด 147:


<gallery>
<gallery>
ไฟล์:ThePlanets_Orbits_Ceres__Mars_PolarView.svg|วงโคจรของซีรีส (สีเหลือง) และดาวอังคาร (สีแดง)
ไฟล์:ThePlanets_Orbits_Ceres__Mars_PolarView.svg|วงโคจรของดาวซีรีส (สีเหลือง) และดาวอังคาร (สีแดง)
ไฟล์:ThePlanets_Orbits_Ceres__Mars.svg|วงโคจรของซีรีส (สีเหลือง) และดาวอังคาร (สีแดง)
ไฟล์:ThePlanets_Orbits_Ceres__Mars.svg|วงโคจรของดาวซีรีส (สีเหลือง) และดาวอังคาร (สีแดง)
ไฟล์:4 Vesta 1 Ceres Moon at 20 km per px.png|จากซ้ายไปขวา: [[เวสตา]], ซีรีส, [[ดวงจันทร์]]ของโลก
ไฟล์:4 Vesta 1 Ceres Moon at 20 km per px.png|จากซ้ายไปขวา: [[4 เวสตา]], ซีรีส, [[ดวงจันทร์]]ของโลก
</gallery>
</gallery>


== ชื่อ ==
== ชื่อ ==
ปีอาซซีเดิมเสนอชื่อ เซเรเร แฟร์ดีนันเดอา (Cerere Ferdinandea) สำหรับการค้นพบของเขา ตามชื่อเทพในตำนานเทพปกรณัม[[เซเรส]] (เทพีโรมันแห่งเกษตรกรรม ภาษาอิตาลีว่า เซเรเร) และพระเจ้าเฟอร์ดินันที่ 3 แห่งซิซิลี<ref name="hoskin"/><ref name="Forbes1971"/> "แฟร์ดีนันเดอา" ไม่ได้รับการยอมรับต่อชาติอื่นในโลกและได้ตัดออก ซีรีสยังเรียกอีกชื่อว่า [[เฮรา]] เป็นช่วงสั้น ๆ ในเยอรมนี<ref>{{cite book|author=Foderà Serio, G.; Manara, A.; Sicoli, P.|editor=W. F. Bottke Jr., A. Cellino, P. Paolicchi, and R. P. Binzel|year=2002 |chapter=Giuseppe Piazzi and the Discovery of Ceres|title=Asteroids III|publisher=University of Arizona Press|pages=17–24|location=Tucson, Arizona| url=http://www.lpi.usra.edu/books/AsteroidsIII/pdf/3027.pdf|format=PDF|accessdate=2009-06-25 }}</ref> ในกรีซ ซีรีสเรียกว่า Δήμητρα ([[เดเมเทอร์]]) ตามเทพีกรีกที่ตรงกับซีรีสของโรมัน (แต่ในภาษาอังกฤษ ชื่อนั้นใช้สำหรับดาวเคราะห์น้อย [[1108 เดเมเทอร์]]) นอกจากนี้ ชาติอื่น ๆ ยังได้เรียกชื่อต่างกันออกไป แต่ทั้งหมดหมายความถึงซีรีส [[สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์]]เก่าของซีรีสเป็นรูปเคียว ⚳ ([[ไฟล์:Ceres symbol.svg|20px|สัญลักษณ์รูปเคียวของซีรีส]]) คล้ายคลึงกับสัญลักษณ์ ♀ ของ[[ดาวศุกร์]] แต่วงกลมไม่ขาด ภายหลังสัญลักษณ์นี้แทนด้วยวงกลมล้อมรอบตัวเลข ①<ref name="Forbes1971"/><ref>{{cite journal|last=Gould|first=B. A.|authorlink=Benjamin Apthorp Gould|title=On the symbolic notation of the asteroids|journal=Astronomical Journal|year=1852|volume=2|issue=34|page=80| bibcode=1852AJ......2...80G|doi=10.1086/100212}}</ref> ชื่อธาตุ[[ซีเรียม]] ซึ่งค้นพบใน ค.ศ. 1803 ตั้งตามชื่อซีรีส<ref>{{cite web|author=Staff|url=http://www.webelements.com/cerium/history.html|title =Cerium: historical information|publisher=Adaptive Optics| accessdate = 2007-04-27}}</ref> ในปีเดียวกัน อีกธาตุหนึ่งได้ตั้งชื่อตามซีรีสแต่แรก แต่ผู้ค้นพบมันเปลี่ยนชื่อเป็นพัลลาเดียม (ตามชื่อดาวเคราะห์น้อยดวงที่สอง [[2 พัลลัส]]) เมื่อชื่อซีเรียมถูกตั้งไปแล้ว<ref>{{cite web| url=http://alchemy.chem.uwm.edu/amalgamator/features/feat2003/features.html#yag|date=2003-10-30|title=Amalgamator Features 2003: 200 Years Ago|accessdate=2006-08-21| archiveurl = http://web.archive.org/web/20060207121906/http://alchemy.chem.uwm.edu/amalgamator/features/feat2003/features.html| archivedate = February 7, 2006}}</ref>
ปีอัซซีเดิมเสนอชื่อ เชเรเร แฟร์ดีนันเดอา (Cerere Ferdinandea) สำหรับการค้นพบของเขา ตามชื่อเทพในตำนานเทพปกรณัม[[ซีรีส]] (เทพีโรมันแห่งเกษตรกรรม ภาษาอิตาลีว่า เชเรเร) และพระเจ้าเฟอร์ดินันที่ 3 แห่งซิซิลี<ref name="hoskin"/><ref name="Forbes1971"/> "แฟร์ดีนันเดอา" ไม่ได้รับการยอมรับต่อชาติอื่นในโลกและได้ตัดออก ซีรีสยังเรียกอีกชื่อว่า [[เฮรา]] เป็นช่วงสั้น ๆ ในเยอรมนี<ref>{{cite book|author=Foderà Serio, G.; Manara, A.; Sicoli, P.|editor=W. F. Bottke Jr., A. Cellino, P. Paolicchi, and R. P. Binzel|year=2002 |chapter=Giuseppe Piazzi and the Discovery of Ceres|title=Asteroids III|publisher=University of Arizona Press|pages=17–24|location=Tucson, Arizona| url=http://www.lpi.usra.edu/books/AsteroidsIII/pdf/3027.pdf|format=PDF|accessdate=2009-06-25 }}</ref> ในกรีซ ซีรีสเรียกว่า Δήμητρα ([[เดเมเทอร์]]) ตามเทพีกรีกที่ตรงกับซีรีสของโรมัน (แต่ในภาษาอังกฤษ ชื่อนั้นใช้สำหรับดาวเคราะห์น้อย [[1108 เดเมเทอร์]]) นอกจากนี้ ชาติอื่น ๆ ยังได้เรียกชื่อต่างกันออกไป แต่ทั้งหมดหมายความถึงซีรีส [[สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์]]เก่าของซีรีสเป็นรูปเคียว ⚳ ([[ไฟล์:Ceres symbol.svg|20px|สัญลักษณ์รูปเคียวของซีรีส]]) คล้ายคลึงกับสัญลักษณ์ ♀ ของ[[ดาวศุกร์]] แต่วงกลมไม่ขาด ภายหลังสัญลักษณ์นี้แทนด้วยวงกลมล้อมรอบตัวเลข ①<ref name="Forbes1971"/><ref>{{cite journal|last=Gould|first=B. A.|authorlink=Benjamin Apthorp Gould|title=On the symbolic notation of the asteroids|journal=Astronomical Journal|year=1852|volume=2|issue=34|page=80| bibcode=1852AJ......2...80G|doi=10.1086/100212}}</ref> ชื่อธาตุ[[ซีเรียม]] ซึ่งค้นพบใน ค.ศ. 1803 ตั้งตามชื่อซีรีส<ref>{{cite web|author=Staff|url=http://www.webelements.com/cerium/history.html|title =Cerium: historical information|publisher=Adaptive Optics| accessdate = 2007-04-27}}</ref> ในปีเดียวกัน อีกธาตุหนึ่งได้ตั้งชื่อตามซีรีสแต่แรก แต่ผู้ค้นพบมันเปลี่ยนชื่อเป็นพัลลาเดียม (ตามชื่อดาวเคราะห์น้อยดวงที่สอง [[2 พัลลัส]]) เมื่อชื่อซีเรียมถูกตั้งไปแล้ว<ref>{{cite web|url=http://alchemy.chem.uwm.edu/amalgamator/features/feat2003/features.html#yag|date=2003-10-30|title=Amalgamator Features 2003: 200 Years Ago|accessdate=2006-08-21|archiveurl=https://web.archive.org/web/20060207121906/http://alchemy.chem.uwm.edu/amalgamator/features/feat2003/features.html#yag|archivedate=2006-02-07|url-status=dead}}</ref>


== สถานะ ==
== สถานะ ==
การจัดประเภทซีรีสนั้นเปลี่ยนแปลงมากกว่าหนึ่งครั้งและยังเป็นหัวข้อถกเถียงกันอยู่ในบางเรื่อง โยฮันน์ อีแลร์ท โบเดอเชื่อว่าซีรีสเป็น "ดาวเคราะห์ที่หายไป" ซึ่งเขาเสนอว่ามีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ที่ระยะห่าง 419 ล้านกิโลเมตร (2.8 หน่วยดาราศาสตร์) จากดวงอาทิตย์<ref name="hoskin"/> ได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ดาวเคราะห์ให้ซีรีส และยังขึ้นทะเบียนเป็นเวเคราะห์ในหนังสือและตารางดาราศาสตร์หลายแหล่ง (ร่วมกับ 2 พัลลัส, [[3 จูโน]] และ [[4 เวสตา]]) เป็นเวลาราวครึ่งศตวรรษ<ref name="hoskin"/><ref name="Forbes1971"/><ref name="Hilton"/>
การจัดประเภทดาวซีรีสนั้นเปลี่ยนแปลงมากกว่าหนึ่งครั้งและยังเป็นหัวข้อถกเถียงกันอยู่ในบางเรื่อง โยฮันน์ อีแลร์ท โบเดอเชื่อว่าดาวซีรีสเป็น "ดาวเคราะห์ที่หายไป" ซึ่งเขาเสนอว่ามีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ที่ระยะห่าง 419 ล้านกิโลเมตร (2.8 หน่วยดาราศาสตร์) จากดวงอาทิตย์<ref name="hoskin"/> ได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ดาวเคราะห์ให้ดาวซีรีส และยังขึ้นทะเบียนเป็นดาวเคราะห์ในหนังสือและตารางดาราศาสตร์หลายแหล่ง (ร่วมกับ 2 พัลลัส, [[3 จูโน]] และ [[4 เวสตา]]) เป็นเวลาราวครึ่งศตวรรษ<ref name="hoskin"/><ref name="Forbes1971"/><ref name="Hilton"/>


เมื่อวัตถุอื่นถูกค้นพบในบริเวณนั้น จึงเป็นที่ทราบว่าซีรีสเป็นตัวแทนวัตถุชิ้นแรกของชั้นวัตถุคล้ายกันจำนวนมาก<ref name="hoskin"/> ใน ค.ศ. 1802 เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชลได้ประดิษฐ์คำว่า asteroid (ดาวเคราะห์น้อย, ความหมายตามตัวอักษรว่า "คล้าย[[ดาวฤกษ์]]") สำหรับวัตถุเหล่านี้<ref name="Hilton">{{cite web| url=http://aa.usno.navy.mil/faq/docs/minorplanets.php|first=James L.|last=Hilton|title=When Did the Asteroids Become Minor Planets?|date=2001-09-17|accessdate=2006-08-16| archiveurl = http://www.webcitation.org/5msUtFmJu | archivedate = 2010-01-18| deadurl=no}} </ref> โดยเขียนว่า "พวกมันดูคล้ายดาวฤกษ์ขนาดเล็กมากเสียจนยากที่จะแยกแยะจากมันได้ แม้แต่กล้องโทรทรรศน์ที่ดีมากก็ตาม"<ref>{{cite web| url=http://links.jstor.org/sici?sici=0261-0523%281802%2992%3C213%3AOOTTLD%3E2.0.CO%3B2-R|first=William|last=Herschel|authorlink=William Herschel| title=''Observations on the two lately discovered celestial Bodies.''|date=May 6, 1802| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D5ZCrRO | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref> เนื่องจากเป็นวัตถุประเภทนี้ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ จึงได้หมายเลข 1 ซีรีสภายใต้ระบบการกำหนดหมายเลขดาวเคราะห์น้อยสมัยใหม่<ref name="Hilton"/>
เมื่อวัตถุอื่นถูกค้นพบในบริเวณนั้น จึงเป็นที่ทราบว่าดาวซีรีสเป็นตัวแทนวัตถุชิ้นแรกของชั้นวัตถุคล้ายกันจำนวนมาก<ref name="hoskin"/> ใน ค.ศ. 1802 เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชลได้ประดิษฐ์คำว่า asteroid (ดาวเคราะห์น้อย, ความหมายตามตัวอักษรว่า "คล้าย[[ดาวฤกษ์]]") สำหรับวัตถุเหล่านี้<ref name="Hilton">{{cite web|url=http://aa.usno.navy.mil/faq/docs/minorplanets.php|first=James L.|last=Hilton|title=When Did the Asteroids Become Minor Planets?|date=2001-09-17|accessdate=2006-08-16|archiveurl=https://www.webcitation.org/5msUtFmJu?url=http://aa.usno.navy.mil/faq/docs/minorplanets.php|archivedate=2010-01-18|url-status=live}}</ref> โดยเขียนว่า "พวกมันดูคล้ายดาวฤกษ์ขนาดเล็กมากเสียจนยากที่จะแยกแยะจากมันได้ แม้แต่กล้องโทรทรรศน์ที่ดีมากก็ตาม"<ref>{{cite web|url=http://links.jstor.org/sici?sici=0261-0523%281802%2992%3C213%3AOOTTLD%3E2.0.CO%3B2-R|first=William|last=Herschel|authorlink=William Herschel|title=''Observations on the two lately discovered celestial Bodies.''|date=May 6, 1802|archiveurl=https://www.webcitation.org/62D5ZCrRO?url=http://links.jstor.org/sici?sici=0261-0523%281802%2992%3C213%3AOOTTLD%3E2.0.CO%3B2-R|archivedate=2011-10-05|access-date=2012-01-02|url-status=live}}</ref> เนื่องจากเป็นวัตถุประเภทนี้ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ จึงได้หมายเลข 1 ภายใต้ระบบการกำหนดหมายเลขดาวเคราะห์น้อยสมัยใหม่<ref name="Hilton"/>


การโต้วาทีเกี่ยวกับ[[ดาวพลูโต]]และองค์ประกอบของ "ดาวเคราะห์" ใน ค.ศ. 2006 ทำให้ดาวซีรีสถูกนำไปพิจารณาจัดประเภทใหม่ในฐานะ[[ดาวเคราะห์]]ด้วย<ref>{{cite web |last=Battersby |first=Stephen |date=2006-08-16 |url=http://space.newscientist.com/article/dn9762 |title=Planet debate: Proposed new definitions |publisher=New Scientist |accessdate=2007-04-27 |archiveurl=https://www.webcitation.org/62D6CF1Zj?url=http://space.newscientist.com/article/dn9762 |archivedate=2011-10-05 |url-status=live }}</ref><ref>{{cite news |first=Steve |last=Connor |title=Solar system to welcome three new planets |publisher=NZ Herald |date=2006-08-16 |url=http://www.nzherald.co.nz/section/story.cfm?c_id=5&ObjectID=10396493 |accessdate=2007-04-27 |archiveurl=https://www.webcitation.org/62D6CSjoX?url=http://www.nzherald.co.nz/section/story.cfm?c_id=5 |archivedate=2011-10-05 |url-status=live }}</ref> การเสนอนิยามดาวเคราะห์ต่อ[[สหภาพดาราศาสตร์สากล]] ได้นิยามว่าดาวเคราะห์เป็น "เทหวัตถุซึ่ง (ก) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของตัวเองจะเอาชนะแรงวัตถุแข็งเกร็ง เพื่อที่จะยังคงรูปร่างสมดุลอุทกสถิต (เกือบกลม) ได้, และ (ข) อยู่ในวงโคจรรอบดาวฤกษ์ และต้องไม่ใช่ดาวฤกษ์หรือ[[ดาวบริวาร]]ของดาวเคราะห์"<ref>{{cite web | authorlink = Owen Gingerich | last1 = Gingerich | first1 = Owen | coauthors = et al. | date = 2006-08-16 | url = http://www.iau.org/iau0601.424.0.html | title = The IAU draft definition of "Planet" and "Plutons" | publisher = IAU | accessdate = 2007-04-27 | archiveurl = https://www.webcitation.org/62D6DNhLH?url=http://www.iau.org/iau0601.424.0.html | archivedate = 2011-10-05 | url-status = dead }}</ref> หากมตินี้ผ่าน จะทำให้ซีรีสเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ห้านับจากดวงอาทิตย์<ref>{{cite web|author=Staff Writers|date=2006-08-16|url=http://www.spacedaily.com/reports/The_IAU_Draft_Definition_Of_Planets_And_Plutons_999.html|title=The IAU Draft Definition Of Planets And Plutons|publisher=SpaceDaily|accessdate=2007-04-27|archiveurl=https://www.webcitation.org/5msUtP4zI?url=http://www.spacedaily.com/reports/The_IAU_Draft_Definition_Of_Planets_And_Plutons_999.html|archivedate=2010-01-18|url-status=live}}</ref> แต่มตินี้ไม่ได้รับการยอมรับ และในประเด็นนิยามทางเลือกมีผลบังคับจนถึงวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 2006 กำหนดเงื่อนไขเพิ่มอีกว่า "ดาวเคราะห์" ต้องมี "ย่านโล่งรอบวงโคจรของมัน" ด้วยนิยามนี้ ซีรีสจึงมิใช่ดาวเคราะห์ เพราะมันไม่ได้ครองวงโคจรของมัน แต่ต้องแบ่งกับดาวเคราะห์น้อยอีกหลายพันดวงในแถบดาวเคราะห์น้อยและประกอบด้วยมวลเพียงหนึ่งในสามของมวลทั้งหมด ปัจจุบัน ซีรีสจึงถูกจัดเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]]
การโต้วาทีเกี่ยวกับ[[ดาวพลูโต]]และองค์ประกอบของ "ดาวเคราะห์" ใน ค.ศ. 2006 ทำให้ซีรีสถูกนำไปพิจารณาจัดประเภทใหม่ในฐานะ[[ดาวเคราะห์]]ด้วย<ref>{{cite web |last=Battersby |first=Stephen |date=2006-08-16 |url=http://space.newscientist.com/article/dn9762 |title =Planet debate: Proposed new definitions |publisher=New Scientist |accessdate = 2007-04-27| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D6CF1Zj | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref><ref>{{cite news|first=Steve| last=Connor |title=Solar system to welcome three new planets |publisher=NZ Herald |date=2006-08-16
|url=http://www.nzherald.co.nz/section/story.cfm?c_id=5&ObjectID=10396493 |accessdate=2007-04-27| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D6CSjoX |archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref> การเสนอนิยามดาวเคราะห์ต่อ[[สหภาพดาราศาสตร์สากล]] ได้นิยามว่าดาวเคราะห์เป็น "เทหวัตถุซึ่ง (ก) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของตัวเองจะเอาชนะแรงวัตถุแข็งเกร็ง เพื่อที่จะยังคงรูปร่างสมดุลอุทกสถิต (เกือบกลม) ได้, และ (ข) อยู่ในวงโคจรรอบดาวฤกษ์ และต้องไม่ใช่ดาวฤกษ์หรือ[[ดาวบริวาร]]ของดาวเคราะห์"<ref>{{cite web|authorlink= Owen Gingerich | last1 = Gingerich |first1 = Owen | coauthors = et al. |date=2006-08-16 |url=http://www.iau.org/iau0601.424.0.html |title =The IAU draft definition of "Planet" and "Plutons" |publisher =IAU |accessdate = 2007-04-27| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D6DNhLH | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref> หากมตินี้ผ่าน จะทำให้ซีรีสเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ห้านับจากดวงอาทิตย์<ref>{{cite web|author=Staff Writers|date =2006-08-16 | url=http://www.spacedaily.com/reports/The_IAU_Draft_Definition_Of_Planets_And_Plutons_999.html|title= The IAU Draft Definition Of Planets And Plutons|publisher= SpaceDaily|accessdate=2007-04-27| archiveurl = http://www.webcitation.org/5msUtP4zI | archivedate = 2010-01-18| deadurl=no}}</ref> แต่มตินี้ไม่ได้รับการยอมรับ และในประเด็นนิยามทางเลือกมีผลบังคับจนถึงวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 2006 กำหนดเงื่อนไขเพิ่มอีกว่า "ดาวเคราะห์" ต้องมี "ย่านโล่งรอบวงโคจรของมัน" ด้วยนิยามนี้ ซีรีสจึงมิใช่ดาวเคราะห์ เพราะมันไม่ได้ครองวงโคจรของมัน แต่ต้องแบ่งกับดาวเคราะห์น้อยอีกหลายพันดวงในแถบดาวเคราะห์น้อยและประกอบด้วยมวลเพียงหนึ่งในสามของมวลทั้งหมด ปัจจุบัน ซีรีสจึงถูกจัดเป็น[[ดาวเคราะห์แคระ]]


บางครั้งมีการสันนิษฐานว่าซีรีสได้ถูกจัดประเภทเป็นดาวเคราะห์แคระอีกครั้ง และดังนั้น จึงไม่ถูกจัดเป็นดาวเคราะห์น้อยอีกต่อไป ตัวอย่างเช่น ข่าวอัปเดตที่สเปซ.คอ พูดถึง "พัลลัส ดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุด และซีรีส ดาวเคราะห์แคระซึ่งอดีตจัดเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุด" ขณะที่โพสต์ถามและตอบของสหภาพดาราศาสตร์สากลแถลงว่า "ซีรีสเป็น (หรือปัจจุบันเราสามารถพูดได้ว่าเคยเป็น) ดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่สุด"<ref>Geoff Gaherty, "How to Spot Giant Asteroid Vesta in Night Sky This Week", 03 August 2011 [http://www.space.com/12537-asteroid-vesta-skywatching-tips.html How to Spot Giant Asteroid Vesta in Night Sky This Week | Asteroid Vesta Skywatching Tips | Amateur Astronomy, Asteroids & Comets | Space.com] {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/62D6DYR28|date =2011-10-05}}</ref> แม้ในหน้านั้นพูดถึง "ดาวเคราะห์น้อยดวงอื่น" ข้ามทางเดินของซีรีสและจึงแสดงนัยว่าซีรีสเองยังเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อย<ref name=IAU-QA>{{cite web |url=http://www.iau.org/Q_A2.415.0.html|title=Question and answers 2|publisher=IAU|accessdate=2008-01-31| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D6FRw3H | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref> ศูนย์ดาวเคราะห์น้อยบันทึกว่า วัตถุเหล่านี้อาจมีการกำหนดคู่<ref>{{cite web |url=http://cfa-www.harvard.edu/mpec/K06/K06R19.html |title=MPEC 2006-R19: EDITORIAL NOTICE |last1 = Spahr | first1 = T. B.|authorlink=Timothy B. Spahr |publisher=Minor Planet Center |date=2006-09-07 |quote=the numbering of "dwarf planets" does not preclude their having dual designations in possible separate catalogues of such bodies. |accessdate=2008-01-31| archiveurl = http://www.webcitation.org/62D6FtCBi | archivedate = 2011-10-05| deadurl=no}}</ref> มติสหภาพดาราศาสตร์สากล ค.ศ. 2006 ซึ่งจัดซีรีสเป็นดาวเคราะห์แคระไม่เคยระบุว่ามันเป็นหรือไม่เป็นดาวเคราะห์น้อย และที่จริงแล้ว สหภาพดาราศาสตร์สากลไม่เคยนิยามคำว่า "ดาวเคราะห์น้อย" (asteroid) แต่อย่างใด โดยใช้คำว่า "ดาวเคราะห์น้อย" (minor planet) แทน กระทั่ง ค.ศ. 2006 และ "วัตถุระบบสุริยะขนาดเล็ก" และ "ดาวเคราะห์แคระ" หลัง ค.ศ. 2006 นาซายังเรียกซีรีสว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยต่อไป โดยกล่าวในการแถลงข่าวเมื่อ ค.ศ. 2011 ว่า "ดอว์นจะโคจรรอบดาวเคราะห์น้อยใหญ่ที่สุดในแถบหลังสองดวง" เช่นเดียวกับหนังสือเรียนวิชาการหลายสำนัก<ref>[http://www.ustream.tv/recorded/16375687/highlight/191666 NASA/JPL, ''Dawn Views Vesta'', 2011 Aug 02] {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/62D6G0qTd|date =2011-10-05}}</ref> as do various academic textbooks.<ref>de Pater & Lissauer, 2010. ''Planetary Sciences'', 2nd ed. Cambridge University Press</ref><ref>Mann, Nakamura, & Mukai, 2009. ''Small bodies in planetary systems.'' Lecture Notes in Physics 758. Springer-Verlag.</ref>
บางครั้งมีการสันนิษฐานว่าดาวซีรีสได้ถูกจัดประเภทเป็นดาวเคราะห์แคระอีกครั้ง และดังนั้น จึงไม่ถูกจัดเป็นดาวเคราะห์น้อยอีกต่อไป ตัวอย่างเช่น ข่าวอัปเดตที่สเปซ.คอม พูดถึง "พัลลัส ดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุด และซีรีส ดาวเคราะห์แคระซึ่งอดีตจัดเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุด" ขณะที่โพสต์ถามและตอบของสหภาพดาราศาสตร์สากลแถลงว่า "ซีรีสเป็น (หรือปัจจุบันเราสามารถพูดได้ว่าเคยเป็น) ดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่สุด"<ref>Geoff Gaherty, "How to Spot Giant Asteroid Vesta in Night Sky This Week", 03 August 2011 [http://www.space.com/12537-asteroid-vesta-skywatching-tips.html How to Spot Giant Asteroid Vesta in Night Sky This Week | Asteroid Vesta Skywatching Tips | Amateur Astronomy, Asteroids & Comets | Space.com] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20111104144018/http://www.space.com/12537-asteroid-vesta-skywatching-tips.html |date=2011-11-04 }}</ref> แม้ในหน้านั้นพูดถึง "ดาวเคราะห์น้อยดวงอื่น" ข้ามทางเดินของซีรีสและจึงแสดงนัยว่าซีรีสเองยังเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อย<ref name=IAU-QA>{{cite web|url=http://www.iau.org/Q_A2.415.0.html|title=Question and answers 2|publisher=IAU|accessdate=2008-01-31|archiveurl=https://www.webcitation.org/62D6FRw3H?url=http://www.iau.org/Q_A2.415.0.html|archivedate=2011-10-05|url-status=dead}}</ref> ศูนย์ดาวเคราะห์น้อยบันทึกว่า วัตถุเหล่านี้อาจมีการกำหนดคู่<ref>{{cite web |url=http://cfa-www.harvard.edu/mpec/K06/K06R19.html |title=MPEC 2006-R19: EDITORIAL NOTICE |last1=Spahr |first1=T. B. |authorlink=Timothy B. Spahr |publisher=Minor Planet Center |date=2006-09-07 |quote=the numbering of "dwarf planets" does not preclude their having dual designations in possible separate catalogues of such bodies. |accessdate=2008-01-31 |archiveurl=https://www.webcitation.org/62D6FtCBi?url=http://cfa-www.harvard.edu/mpec/K06/K06R19.html |archivedate=2011-10-05 |url-status=live }}</ref> มติสหภาพดาราศาสตร์สากล ค.ศ. 2006 ซึ่งจัดให้ซีรีสเป็นดาวเคราะห์แคระไม่เคยระบุว่ามันเป็นหรือไม่เป็นดาวเคราะห์น้อย และที่จริงแล้ว สหภาพดาราศาสตร์สากลไม่เคยนิยามคำว่า "ดาวเคราะห์น้อย" (asteroid) แต่อย่างใด โดยใช้คำว่า "ดาวเคราะห์น้อย" (minor planet) แทน กระทั่ง ค.ศ. 2006 และ "วัตถุระบบสุริยะขนาดเล็ก" และ "ดาวเคราะห์แคระ" หลัง ค.ศ. 2006 นาซายังเรียกซีรีสว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยต่อไป โดยกล่าวในการแถลงข่าวเมื่อ ค.ศ. 2011 ว่า "ดอว์นจะโคจรรอบดาวเคราะห์น้อยใหญ่ที่สุดในแถบหลังสองดวง" เช่นเดียวกับหนังสือเรียนวิชาการหลายสำนัก<ref>{{Cite web |url=http://www.ustream.tv/recorded/16375687/highlight/191666 |title=NASA/JPL, ''Dawn Views Vesta'', 2011 Aug 02 |access-date=2012-01-02 |archive-date=2011-10-05 |archive-url=https://www.webcitation.org/62D6G0qTd?url=http://www.ustream.tv/recorded/16375687/highlight/191666 |url-status=bot: unknown }}</ref> as do various academic textbooks.<ref>de Pater & Lissauer, 2010. ''Planetary Sciences'', 2nd ed. Cambridge University Press</ref><ref>Mann, Nakamura, & Mukai, 2009. ''Small bodies in planetary systems.'' Lecture Notes in Physics 758. Springer-Verlag.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 175: บรรทัด 173:
[[หมวดหมู่:วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2344]]
[[หมวดหมู่:วัตถุทางดาราศาสตร์ที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2344]]
{{โครงดาราศาสตร์}}
{{โครงดาราศาสตร์}}

{{Link FA|en}}
{{Link FA|fr}}
{{Link FA|pt}}
{{Link GA|de}}
{{Link GA|zh}}

[[af:Ceres (dwergplaneet)]]
[[als:(1) Ceres]]
[[ang:1 Ceres]]
[[ar:سيريس (كوكب قزم)]]
[[as:চেৰেছ]]
[[ast:1 Ceres]]
[[az:Serera (cırtdan planet)]]
[[bar:Ceres (Zweagplanet)]]
[[be:Карлікавая планета Цэрэра]]
[[be-x-old:Цэрэра (карлікавая плянэта)]]
[[bg:Церера (планета джудже)]]
[[bn:সেরেস]]
[[br:Keres (planedenn-gorr)]]
[[bs:Ceres (patuljasta planeta)]]
[[ca:Ceres (planeta nan)]]
[[ckb:سێریس]]
[[co:Cerere (astrunumia)]]
[[cs:Ceres (trpasličí planeta)]]
[[cv:Церера (астероид)]]
[[cy:Ceres (planed gorrach)]]
[[da:Ceres (dværgplanet)]]
[[de:(1) Ceres]]
[[el:Δήμητρα (πλανήτης νάνος)]]
[[eml:Ceres]]
[[en:Ceres (dwarf planet)]]
[[eo:Cereso]]
[[es:Ceres (planeta enano)]]
[[et:Ceres (kääbusplaneet)]]
[[eu:Zeres (planeta nanoa)]]
[[fa:سرس]]
[[fi:Ceres]]
[[fr:(1) Cérès]]
[[ga:Ceres (abhacphlainéad)]]
[[gl:Ceres (planeta anano)]]
[[gn:Seres]]
[[gu:સિરસ (વામન ગ્રહ)]]
[[gv:Keres (planaid crivassanagh)]]
[[he:קרס (כוכב לכת ננסי)]]
[[hi:सीरीस (बौना ग्रह)]]
[[hr:1 Ceres]]
[[hu:Ceres (törpebolygó)]]
[[hy:Սերես]]
[[ia:Ceres (planeta nano)]]
[[id:1 Ceres]]
[[io:Ceres]]
[[is:Seres (dvergreikistjarna)]]
[[it:Cerere (astronomia)]]
[[ja:ケレス (準惑星)]]
[[jv:Ceres]]
[[ka:ცერერა (ჯუჯა პლანეტა)]]
[[kk:Серера (шағын ғаламшар)]]
[[km:សឺរេស]]
[[ko:세레스 (왜행성)]]
[[ku:1 Ceres]]
[[kv:Церера]]
[[kw:Ceres (planet còr)]]
[[la:Ceres (planetula)]]
[[lb:(1) Ceres]]
[[li:Ceres (dwergplaneet)]]
[[lt:Cerera (nykštukinė planeta)]]
[[lv:Cerera]]
[[mk:Церера (џуџеста планета)]]
[[ml:സീറീസ്]]
[[mn:Церера]]
[[mr:सेरेस (बटु ग्रह)]]
[[ms:Ceres (planet kerdil)]]
[[mwl:Ceres (planeta nano)]]
[[my:စီးရပ်စ် (ဂြိုလ်သိမ်ဂြိုလ်မွှား)]]
[[nah:Ceres]]
[[nds:Ceres (Dwargplanet)]]
[[nl:Ceres (dwergplaneet)]]
[[nn:1 Ceres]]
[[no:Ceres (dvergplanet)]]
[[nv:Séwes]]
[[oc:(1) Cères]]
[[pl:(1) Ceres]]
[[pnb:سیرس]]
[[pt:Ceres (planeta anão)]]
[[qu:Siris (tuna puriq quyllur)]]
[[rm:Ceres (planet nanin)]]
[[ro:Ceres (planetă pitică)]]
[[ru:Церера]]
[[scn:Cèriri]]
[[sh:1 Ceres]]
[[simple:Ceres (dwarf planet)]]
[[sk:1 Ceres]]
[[sl:Cerera (pritlikavi planet)]]
[[sq:Ceres]]
[[sr:Церера (патуљаста планета)]]
[[sv:Ceres (dvärgplanet)]]
[[sw:1 Ceres]]
[[ta:செரசு (குறுங்கோள்)]]
[[te:సెరిస్ (మరుగుజ్జు గ్రహం)]]
[[tg:Серера]]
[[tl:Seres (astronomiya)]]
[[tr:Ceres (cüce gezegen)]]
[[tt:Церера (кәрлә планета)]]
[[ug:سېرېرا]]
[[uk:Церера (карликова планета)]]
[[vi:Ceres (hành tinh lùn)]]
[[war:Ceres (duwende nga planeta)]]
[[xmf:ცერერა (ჯუჯა პლანეტა)]]
[[yi:צערעס]]
[[zh:穀神星]]
[[zh-classical:穀神星]]
[[zh-min-nan:Ceres (é-he̍k-chheⁿ)]]
[[zh-yue:穀神星]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:24, 27 ตุลาคม 2566

ซีรีส  ⚳

ภาพดาวซีรีส ถ่ายโดยยานดอว์น เมื่อ 6
พฤษภาคม 2558 จากระยะทาง 13,600 กิโลเมตร
การค้นพบ[1]
ค้นพบโดย:จูเซปเป ปีอัซซี
ค้นพบเมื่อ:1 มกราคม ค.ศ. 1801
ชื่ออื่น ๆ:A899 OF; 1943 XB
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:ดาวเคราะห์แคระ
แถบดาวเคราะห์น้อย
ลักษณะของวงโคจร[2]
ต้นยุคอ้างอิง 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005
(JD 2453700.5)
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
447,838,164 กม.
(2.987 หน่วยดาราศาสตร์)
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
381,419,582 กม.
(2.544 หน่วยดาราศาสตร์)
กึ่งแกนเอก:414,703,838 กม.
(2.766 หน่วยดาราศาสตร์)
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.07934
คาบดาราคติ:1679.819 วัน (4.599 ปีจูเลียน)
อัตราเร็วเฉลี่ย
ในวงโคจร
:
17.882 กม./วินาที
มุมกวาดเฉลี่ย:27.448°
ความเอียง:10.585°[3]
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
80.410°
มุมของจุด
ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
73.271°
ลักษณะทางกายภาพ
มิติ:975×909 กม.
เส้นผ่านศูนย์กลาง
ตามแนวศูนย์สูตร:
975.6 ± 1.8 กม.[4]
พื้นที่ผิว:2,850,000 ตร.กม.
มวล:9.43±0.07×1020 กก.[5]
ความหนาแน่นเฉลี่ย:2.077 ± 0.036 กรัม/ซม.³[4]
ความโน้มถ่วง
ที่ศูนย์สูตร:
0.27 เมตร/วินาที²
ความเร็วหลุดพ้น:0.51 กม./วินาที
คาบการหมุน
รอบตัวเอง
:
0.3781 วัน (9.074170 ชม.)[6][7]
ความเอียงของแกน:59°[4]
ความเอียงแกน:ราว 3°[4]
ไรต์แอสเซนชัน
ของขั้วเหนือ:
19 ชั่วโมง 24 นาที
291°[4]
อัตราส่วนสะท้อน:0.090 ± 0.0033
(V-band geometric)[8]
อุณหภูมิพื้นผิว:
   เคลวิน
ต่ำสุดเฉลี่ยสูงสุด
~137 K[9]235 K[9]
ชนิดสเปกตรัม:C[10]
ขนาดเชิงมุม:0.84" ถึง 0.33"

ซีรีส (อังกฤษ: Ceres; สัญลักษณ์: ⚳)[11] หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า 1 ซีรีส เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุดและเป็นดาวเคราะห์แคระดวงเดียวในระบบสุริยะชั้นใน[12][13][14] เป็นดาวเคราะห์น้อยดวงแรกที่ถูกค้นพบ โดยจูเซปเป ปีอัซซี นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801[15][16] ตั้งตามชื่อซีรีส เทพีโรมันแห่งการปลูกพืช เก็บเกี่ยวและความรักอย่างมารดา

ดาวซีรีสมีเส้นผ่าศูนย์กลางราว 950 กิโลเมตรและประกอบด้วยมวลหนึ่งในสามของมวลทั้งหมดในแถบดาวเคราะห์น้อย[17][18] พื้นผิวดาวซีรีสอาจเป็นส่วนผสมของน้ำแข็งและธาตุที่ถูกไฮเดรต เช่น คาร์บอเนตและดินเหนียว[10] จำแนกเป็นแก่นหินและแมนเทิลน้ำแข็ง[4] และอาจมีมหาสมุทรน้ำในสถานะของเหลวกักเก็บไว้ใต้พื้นผิว[19][20]

จากโลก โชติมาตรปรากฏของดาวซีรีสอยู่ระหว่าง 6.7 ถึง 9.3 ดังนั้นแม้ในช่วงสว่างที่สุดก็ไม่อาจเห็นได้ด้วยตาเปล่า ยกเว้นท้องฟ้าที่มืดอย่างยิ่ง[21] วันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 2007 นาซาส่งยานสำรวจอวกาศดอว์นไปสำรวจเวสตา (2011-2012) และซีรีส (2015)[22]

การค้นพบ

[แก้]

แนวคิดที่ว่ามีดาวเคราะห์ที่ยังไม่ได้รับการค้นพบอยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ได้รับการเสนอโดยโยฮัน เอเลิร์ท โบเดอ ใน ค.ศ. 1772[15] ก่อนหน้าใน ค.ศ. 1596 โยฮันเนิส เค็พเพลอร์ได้สังเกตช่องว่างระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีแล้ว[15] การพิจารณาของโบเดออิงกฎของทีทซีอุส–โบเดอซึ่งเสนอขึ้นครั้งแรกโดยโยฮัน ดานีเอล ทีทซีอุส ใน ค.ศ. 1766 จากการสังเกตว่ามีรูปแบบสม่ำเสมอในกึ่งแกนเอกของดาวเคราะห์ที่ทราบกัน แต่ใช้ไม่ได้เฉพาะกับช่องว่างใหญ่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดีเพียงจุดเดียว[15][23] รูปแบบดังกล่าวทำนายว่าดาวเคราะห์ที่หายไปมีกึ่งแกนเอกที่ใกล้กับ 2.8 หน่วยดาราศาสตร์[23] การค้นพบดาวยูเรนัสของวิลเลียม เฮอร์เชล ใน ค.ศ. 1781[15] ใกล้กับระยะห่างที่ทำนายไว้จากวัตถุถัดไปจากดาวเสาร์เพิ่มความเชื่อมั่นในกฎของทีทซีอุส–โบเดอ และใน ค.ศ. 1800 พวกเขาส่งคำร้องไปยังนักดาราศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญยี่สิบสี่คน ร้องขอให้พวกเขาประสานงานกันและเริ่มต้นค้นหาดาวเคราะห์ที่คาดคะเนไว้อย่างเป็นระบบ[15][23] กลุ่มนี้ ซึ่งนำโดยฟรันทซ์ ซาเวอร์ ฟ็อน ซัค บรรณาธิการ โมนัทลิชเชอคอเร็สพ็อนเด็นทซ์ (Monatliche Correspondenz) ขณะที่พวกเขาไม่พบดาวซีรีส ภายหลังได้พบดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่จำนวนมาก[23]

หนึ่งในนักดาราศาสตร์ที่ได้รับการคัดเลือกมาค้นหานั้นมีจูเซปเป ปีอัซซี จากสถาบันปาแลร์โม ซิซิลี ก่อนได้รับการเชิญให้เข้าร่วมกลุ่ม จูเซปเป ปีอัซซีค้นพบดาวซีรีสแล้วเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1801[24] เขากำลังค้นหา "[ดาวฤกษ์]ดวงที่ 87 ในบัญชีรายชื่อดาวฤกษ์จักรราศีของคุณลากาย" แต่พบว่า "มันตามหลังอีกดวงหนึ่ง"[15] แทนที่จะพบดาวฤกษ์ เขากลับพบวัตถุคล้ายดาวฤกษ์เคลื่อนที่ ซึ่งตอนแรกเขาคิดว่าเป็นดาวหาง[25] ปีอัซซีสังเกตดาวซีรีสรวม 24 ครั้ง ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1801 เมื่อความเจ็บป่วยรบกวนการเฝ้าสังเกตของเขา เขาประกาศการค้นพบของตัวเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1801 ในจดหมายถึงนักดาราศาสตร์ผู้ติดตามเพียงสองคน บาร์นาบา โอรีอานี แห่งมิลาน เพื่อนร่วมชาติ และโบเดอแห่งเบอร์ลิน[26] เขารายงานว่ามันเป็นดาวหางแต่ "เพราะการเคลื่อนที่ของมันช้ามากและค่อนข้างมีแบบแผน มันได้ปรากฏต่อผมหลายครั้งจนมันน่าจะเป็นอะไรที่ดีกว่าดาวหาง"[15] ในเดือนเมษายน ปีอัซซีส่งการสังเกตสมบูรณ์ของเขาไปยังโอรีอานี, โบเดอ และเฌโรม ลาล็องด์ ในกรุงปารีส ข้อมูลนี้ได้รับการตีพิมพ์ใน โมนัทลิชเชอคอเร็สพ็อนเด็นทซ์ ฉบับเดือนกันยายน ค.ศ. 1801[25]

ถึงขณะนี้ ตำแหน่งปรากฏของดาวซีรีสได้เปลี่ยนไปแล้ว (ส่วนใหญ่เนื่องจากการหมุนโคจรของโลก) และใกล้แสงจ้าของดวงอาทิตย์เกินกว่าที่นักดาราศาสตร์คนอื่นจะยืนยันการสังเกตของปีอัซซีได้ ดาวซีรีสควรมองเห็นได้อีกครั้ง แต่หลังจากเวลานานเช่นนั้น เป็นการยากที่จะทำนายตำแหน่งที่แน่ชัด เพื่อหาดาวซีรีสอีกครั้ง คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ ซึ่งขณะนั้นอายุ 24 ปี พัฒนาวิธีการตรวจหาวงโคจรที่มีประสิทธิภาพ[25] เขาจัดงานพิจารณาการเคลื่อนที่แบบเคปเลอร์จากการสังเกตสมบูรณ์สามอย่าง (เวลา ไรต์แอสเซนชัน และเดคลิเนชัน) ในเวลาเพียงไม่กี่สัปดาห์ เขาทำนายทางเดินของดาวซีรีสและส่งผลการคำนวณให้แก่ฟ็อน ซัค ในวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1801 ฟ็อน ซัค และไฮน์ริช อ็อลเบิร์ส พบดาวซีรีสใกล้กับตำแหน่งที่ทำนายและเป็นการพบอีกครั้งหนึ่ง[25]

การสังเกตช่วงแรกเพียงสามารถคำนวณขนาดของดาวซีรีสได้จากลำดับความสว่างเท่านั้น แฮร์เชลประเมินขนาดมันต่ำกว่าจริงที่ 260 กิโลเมตรใน ค.ศ. 1802 ขณะที่โยฮันน์ ฮีโรนีมุส ชเรอเทอร์ ประเมินขนาดสูงกว่าจริงที่ 2,613 กิโลเมตร[27][28]


ชื่อ

[แก้]

ปีอัซซีเดิมเสนอชื่อ เชเรเร แฟร์ดีนันเดอา (Cerere Ferdinandea) สำหรับการค้นพบของเขา ตามชื่อเทพในตำนานเทพปกรณัมซีรีส (เทพีโรมันแห่งเกษตรกรรม ภาษาอิตาลีว่า เชเรเร) และพระเจ้าเฟอร์ดินันที่ 3 แห่งซิซิลี[15][25] "แฟร์ดีนันเดอา" ไม่ได้รับการยอมรับต่อชาติอื่นในโลกและได้ตัดออก ซีรีสยังเรียกอีกชื่อว่า เฮรา เป็นช่วงสั้น ๆ ในเยอรมนี[29] ในกรีซ ซีรีสเรียกว่า Δήμητρα (เดเมเทอร์) ตามเทพีกรีกที่ตรงกับซีรีสของโรมัน (แต่ในภาษาอังกฤษ ชื่อนั้นใช้สำหรับดาวเคราะห์น้อย 1108 เดเมเทอร์) นอกจากนี้ ชาติอื่น ๆ ยังได้เรียกชื่อต่างกันออกไป แต่ทั้งหมดหมายความถึงซีรีส สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์เก่าของซีรีสเป็นรูปเคียว ⚳ (สัญลักษณ์รูปเคียวของซีรีส) คล้ายคลึงกับสัญลักษณ์ ♀ ของดาวศุกร์ แต่วงกลมไม่ขาด ภายหลังสัญลักษณ์นี้แทนด้วยวงกลมล้อมรอบตัวเลข ①[25][30] ชื่อธาตุซีเรียม ซึ่งค้นพบใน ค.ศ. 1803 ตั้งตามชื่อซีรีส[31] ในปีเดียวกัน อีกธาตุหนึ่งได้ตั้งชื่อตามซีรีสแต่แรก แต่ผู้ค้นพบมันเปลี่ยนชื่อเป็นพัลลาเดียม (ตามชื่อดาวเคราะห์น้อยดวงที่สอง 2 พัลลัส) เมื่อชื่อซีเรียมถูกตั้งไปแล้ว[32]

สถานะ

[แก้]

การจัดประเภทดาวซีรีสนั้นเปลี่ยนแปลงมากกว่าหนึ่งครั้งและยังเป็นหัวข้อถกเถียงกันอยู่ในบางเรื่อง โยฮันน์ อีแลร์ท โบเดอเชื่อว่าดาวซีรีสเป็น "ดาวเคราะห์ที่หายไป" ซึ่งเขาเสนอว่ามีอยู่ระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ที่ระยะห่าง 419 ล้านกิโลเมตร (2.8 หน่วยดาราศาสตร์) จากดวงอาทิตย์[15] ได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ดาวเคราะห์ให้ดาวซีรีส และยังขึ้นทะเบียนเป็นดาวเคราะห์ในหนังสือและตารางดาราศาสตร์หลายแหล่ง (ร่วมกับ 2 พัลลัส, 3 จูโน และ 4 เวสตา) เป็นเวลาราวครึ่งศตวรรษ[15][25][33]

เมื่อวัตถุอื่นถูกค้นพบในบริเวณนั้น จึงเป็นที่ทราบว่าดาวซีรีสเป็นตัวแทนวัตถุชิ้นแรกของชั้นวัตถุคล้ายกันจำนวนมาก[15] ใน ค.ศ. 1802 เซอร์วิลเลียม เฮอร์เชลได้ประดิษฐ์คำว่า asteroid (ดาวเคราะห์น้อย, ความหมายตามตัวอักษรว่า "คล้ายดาวฤกษ์") สำหรับวัตถุเหล่านี้[33] โดยเขียนว่า "พวกมันดูคล้ายดาวฤกษ์ขนาดเล็กมากเสียจนยากที่จะแยกแยะจากมันได้ แม้แต่กล้องโทรทรรศน์ที่ดีมากก็ตาม"[34] เนื่องจากเป็นวัตถุประเภทนี้ชิ้นแรกที่ถูกค้นพบ จึงได้หมายเลข 1 ภายใต้ระบบการกำหนดหมายเลขดาวเคราะห์น้อยสมัยใหม่[33]

การโต้วาทีเกี่ยวกับดาวพลูโตและองค์ประกอบของ "ดาวเคราะห์" ใน ค.ศ. 2006 ทำให้ดาวซีรีสถูกนำไปพิจารณาจัดประเภทใหม่ในฐานะดาวเคราะห์ด้วย[35][36] การเสนอนิยามดาวเคราะห์ต่อสหภาพดาราศาสตร์สากล ได้นิยามว่าดาวเคราะห์เป็น "เทหวัตถุซึ่ง (ก) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของตัวเองจะเอาชนะแรงวัตถุแข็งเกร็ง เพื่อที่จะยังคงรูปร่างสมดุลอุทกสถิต (เกือบกลม) ได้, และ (ข) อยู่ในวงโคจรรอบดาวฤกษ์ และต้องไม่ใช่ดาวฤกษ์หรือดาวบริวารของดาวเคราะห์"[37] หากมตินี้ผ่าน จะทำให้ซีรีสเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ห้านับจากดวงอาทิตย์[38] แต่มตินี้ไม่ได้รับการยอมรับ และในประเด็นนิยามทางเลือกมีผลบังคับจนถึงวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 2006 กำหนดเงื่อนไขเพิ่มอีกว่า "ดาวเคราะห์" ต้องมี "ย่านโล่งรอบวงโคจรของมัน" ด้วยนิยามนี้ ซีรีสจึงมิใช่ดาวเคราะห์ เพราะมันไม่ได้ครองวงโคจรของมัน แต่ต้องแบ่งกับดาวเคราะห์น้อยอีกหลายพันดวงในแถบดาวเคราะห์น้อยและประกอบด้วยมวลเพียงหนึ่งในสามของมวลทั้งหมด ปัจจุบัน ซีรีสจึงถูกจัดเป็นดาวเคราะห์แคระ

บางครั้งมีการสันนิษฐานว่าดาวซีรีสได้ถูกจัดประเภทเป็นดาวเคราะห์แคระอีกครั้ง และดังนั้น จึงไม่ถูกจัดเป็นดาวเคราะห์น้อยอีกต่อไป ตัวอย่างเช่น ข่าวอัปเดตที่สเปซ.คอม พูดถึง "พัลลัส ดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุด และซีรีส ดาวเคราะห์แคระซึ่งอดีตจัดเป็นดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่ที่สุด" ขณะที่โพสต์ถามและตอบของสหภาพดาราศาสตร์สากลแถลงว่า "ซีรีสเป็น (หรือปัจจุบันเราสามารถพูดได้ว่าเคยเป็น) ดาวเคราะห์น้อยดวงใหญ่สุด"[39] แม้ในหน้านั้นพูดถึง "ดาวเคราะห์น้อยดวงอื่น" ข้ามทางเดินของซีรีสและจึงแสดงนัยว่าซีรีสเองยังเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อย[40] ศูนย์ดาวเคราะห์น้อยบันทึกว่า วัตถุเหล่านี้อาจมีการกำหนดคู่[41] มติสหภาพดาราศาสตร์สากล ค.ศ. 2006 ซึ่งจัดให้ซีรีสเป็นดาวเคราะห์แคระไม่เคยระบุว่ามันเป็นหรือไม่เป็นดาวเคราะห์น้อย และที่จริงแล้ว สหภาพดาราศาสตร์สากลไม่เคยนิยามคำว่า "ดาวเคราะห์น้อย" (asteroid) แต่อย่างใด โดยใช้คำว่า "ดาวเคราะห์น้อย" (minor planet) แทน กระทั่ง ค.ศ. 2006 และ "วัตถุระบบสุริยะขนาดเล็ก" และ "ดาวเคราะห์แคระ" หลัง ค.ศ. 2006 นาซายังเรียกซีรีสว่าเป็นดาวเคราะห์น้อยต่อไป โดยกล่าวในการแถลงข่าวเมื่อ ค.ศ. 2011 ว่า "ดอว์นจะโคจรรอบดาวเคราะห์น้อยใหญ่ที่สุดในแถบหลังสองดวง" เช่นเดียวกับหนังสือเรียนวิชาการหลายสำนัก[42] as do various academic textbooks.[43][44]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Schmadel, Lutz (2003). Dictionary of minor planet names (5th ed.). Germany: Springer. p. 15. ISBN 978-3-540-00238-3.
  2. Yeomans, Donald K. (July 5, 2007). "1 Ceres". JPL Small-Body Database Browser. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2009-04-10.—The listed values were rounded at the magnitude of uncertainty (1-sigma).
  3. "The MeanPlane (Invariable plane) of the Solar System passing through the barycenter". 2009-04-03. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-14. สืบค้นเมื่อ 2009-04-10. (produced with Solex 10 เก็บถาวร 2008-12-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน written by Aldo Vitagliano; see also Invariable plane)
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Thomas2005
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Carry2008
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NSSDC
  7. Chamberlain, Matthew A. (2007). "Ceres lightcurve analysis – Period determination". Icarus. 188 (2): 451–456. Bibcode:2007Icar..188..451C. doi:10.1016/j.icarus.2006.11.025. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  8. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Li2006
  9. 9.0 9.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Saint-Pe1993
  10. 10.0 10.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Rivkin2006
  11. JPL/NASA (2015-04-22). "What is a Dwarf Planet?". Jet Propulsion Laboratory. สืบค้นเมื่อ 2022-01-19.
  12. "NASA – Dawn at a Glance". NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 14 August 2011.
  13. Shiga, David. "Dawn captures first orbital image of asteroid Vesta". New Scientist. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 7 August 2011.
  14. Space Telescope Science Institute (2009). Hubble 2008: Science year in review. NASA Goddard Space Flight Center. p. 66.
  15. 15.00 15.01 15.02 15.03 15.04 15.05 15.06 15.07 15.08 15.09 15.10 15.11 Hoskin, Michael (1992-06-26). "Bodes' Law and the Discovery of Ceres". Observatorio Astronomico di Palermo "Giuseppe S. Vaiana". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-18. สืบค้นเมื่อ 2007-07-05.
  16. Coffey, Jerry. "The First Asteroid Discovered". universetoday.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2 September 2011.
  17. Pitjeva, E. V.; Precise determination of the motion of planets and some astronomical constants from modern observations, in Kurtz, D. W. (Ed.), Proceedings of IAU Colloquium No. 196: Transits of Venus: New Views of the Solar System and Galaxy, 2004 ถูกบันทึกไว้ 18 มกราคม 2553 ที่ WebCite
  18. Moomaw, Bruce (2007-07-02). "Ceres As An Abode Of Life". spaceblooger.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-29. สืบค้นเมื่อ 2007-11-06.
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ McCord2005
  20. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Castillo-Rogez2007
  21. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Pasachoff1983
  22. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Russel2006
  23. 23.0 23.1 23.2 23.3 Hogg, Helen Sawyer (1948). "The Titius-Bode Law and the Discovery of Ceres". Journal of the Royal Astronomical Society of Canada. 242: 241–246. Bibcode:1948JRASC..42..241S.
  24. Hoskin, Michael (1999). The Cambridge Concise History of Astronomy. Cambridge University press. pp. 160–161. ISBN 978-0-521-57600-0.
  25. 25.0 25.1 25.2 25.3 25.4 25.5 25.6 Forbes, Eric G. (1971). "Gauss and the Discovery of Ceres". Journal for the History of Astronomy. 2: 195–199. Bibcode:1971JHA.....2..195F.
  26. Clifford J. Cunningham (2001). The first asteroid: Ceres, 1801–2001. Star Lab Press. ISBN 978-0-9708162-1-4. สืบค้นเมื่อ 6 August 2011.
  27. Hilton, James L. "Asteroid Masses and Densities" (PDF). U.S. Naval Observatory. สืบค้นเมื่อ 2008-06-23.
  28. Hughes, D. W. (1994). "The Historical Unravelling of the Diameters of the First Four Asteroids". R.A.S. Quarterly Journal. 35 (3): 331. Bibcode:1994QJRAS..35..331H.(Page 335)
  29. Foderà Serio, G.; Manara, A.; Sicoli, P. (2002). "Giuseppe Piazzi and the Discovery of Ceres". ใน W. F. Bottke Jr., A. Cellino, P. Paolicchi, and R. P. Binzel (บ.ก.). Asteroids III (PDF). Tucson, Arizona: University of Arizona Press. pp. 17–24. สืบค้นเมื่อ 2009-06-25.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  30. Gould, B. A. (1852). "On the symbolic notation of the asteroids". Astronomical Journal. 2 (34): 80. Bibcode:1852AJ......2...80G. doi:10.1086/100212.
  31. Staff. "Cerium: historical information". Adaptive Optics. สืบค้นเมื่อ 2007-04-27.
  32. "Amalgamator Features 2003: 200 Years Ago". 2003-10-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-02-07. สืบค้นเมื่อ 2006-08-21.
  33. 33.0 33.1 33.2 Hilton, James L. (2001-09-17). "When Did the Asteroids Become Minor Planets?". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-18. สืบค้นเมื่อ 2006-08-16.
  34. Herschel, William (May 6, 1802). "Observations on the two lately discovered celestial Bodies.". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2012-01-02.
  35. Battersby, Stephen (2006-08-16). "Planet debate: Proposed new definitions". New Scientist. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2007-04-27.
  36. Connor, Steve (2006-08-16). "Solar system to welcome three new planets". NZ Herald. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2007-04-27.
  37. Gingerich, Owen (2006-08-16). "The IAU draft definition of "Planet" and "Plutons"". IAU. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2007-04-27. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  38. Staff Writers (2006-08-16). "The IAU Draft Definition Of Planets And Plutons". SpaceDaily. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-18. สืบค้นเมื่อ 2007-04-27.
  39. Geoff Gaherty, "How to Spot Giant Asteroid Vesta in Night Sky This Week", 03 August 2011 How to Spot Giant Asteroid Vesta in Night Sky This Week | Asteroid Vesta Skywatching Tips | Amateur Astronomy, Asteroids & Comets | Space.com เก็บถาวร 2011-11-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  40. "Question and answers 2". IAU. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2008-01-31.
  41. Spahr, T. B. (2006-09-07). "MPEC 2006-R19: EDITORIAL NOTICE". Minor Planet Center. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2008-01-31. the numbering of "dwarf planets" does not preclude their having dual designations in possible separate catalogues of such bodies.
  42. "NASA/JPL, Dawn Views Vesta, 2011 Aug 02". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-05. สืบค้นเมื่อ 2012-01-02.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  43. de Pater & Lissauer, 2010. Planetary Sciences, 2nd ed. Cambridge University Press
  44. Mann, Nakamura, & Mukai, 2009. Small bodies in planetary systems. Lecture Notes in Physics 758. Springer-Verlag.