ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทิ้งระเบิดที่เกร์นิกา"

พิกัด: 43°18′50″N 2°40′42″W / 43.31389°N 2.67833°W / 43.31389; -2.67833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
'''การทิ้งระเบิดที่เกร์นิกา''' ({{lang-es|bombardeo de Guernica}}; {{lang-eu|Gernikako bonbardaketa}}; {{lang-de|Luftangriff auf Guernica}}; {{lang-it|bombardamento di Guernica}}) เป็นการทิ้งระเบิดทางอากาศที่[[เกร์นิกา]]ใน[[แคว้นประเทศบาสก์]]เมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1937 ระหว่าง[[สงครามกลางเมืองสเปน]] โดยเป็นปฏิบัติการตามคำสั่งจาก[[กลุ่มแห่งชาติ (สงครามกลางเมืองสเปน)|กลุ่มแห่งชาติ]]ของ[[ฟรันซิสโก ฟรังโก]] และดำเนินการโดยพันธมิตรอย่างหน่วย[[เลกีโอนค็อนดอร์]]แห่ง[[ลุฟท์วัฟเฟอ]]ของ[[นาซีเยอรมนี]] และหน่วย[[อาเวียซีโอเนเลจีโอนาเรีย]]ของ[[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลีฟาสซิสต์]] ภายใต้รหัสนามว่า '''ปฏิบัติการรือเกิน''' เมืองแห่งนี้ได้ถูกใช้เป็นศูนย์การสื่อสารหลังแนวหน้า ปฏิบัติการนี้เป็นการเปิดทางสู่การยึดครอง[[บิลบาโอ]]ของฟรังโกและชัยชนะของเขาในสเปนตอนเหนือ
'''การทิ้งระเบิดที่เกร์นิกา''' ({{lang-es|bombardeo de Guernica}}; {{lang-eu|Gernikako bonbardaketa}}; {{lang-de|Luftangriff auf Guernica}}; {{lang-it|bombardamento di Guernica}}) เป็นการทิ้งระเบิดทางอากาศที่[[เกร์นิกา]]ใน[[แคว้นประเทศบาสก์]]เมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1937 ระหว่าง[[สงครามกลางเมืองสเปน]] โดยเป็นปฏิบัติการตามคำสั่งจาก[[กลุ่มแห่งชาติ (สงครามกลางเมืองสเปน)|กลุ่มแห่งชาติ]]ของ[[ฟรันซิสโก ฟรังโก]] และดำเนินการโดยพันธมิตรอย่างหน่วย[[เลกีโอนค็อนดอร์]]แห่ง[[ลุฟท์วัฟเฟอ]]ของ[[นาซีเยอรมนี]] และหน่วย[[อาเวียซีโอเนเลจีโอนาเรีย]]ของ[[ราชอาณาจักรอิตาลี|อิตาลีฟาสซิสต์]] ภายใต้รหัสนามว่า '''ปฏิบัติการรือเกิน''' เมืองแห่งนี้ได้ถูกใช้เป็นศูนย์การสื่อสารหลังแนวหน้า ปฏิบัติการนี้เป็นการเปิดทางสู่การยึดครอง[[บิลบาโอ]]ของฟรังโกและชัยชนะของเขาในสเปนตอนเหนือ


การโจมตีได้รับการโต้แย้งเพราะเกี่ยวโยงกับการทิ้งระเบิดใส่พลเรือนโดยกองทัพอากาศ จำนวนของเหยื่อยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ฝ่ายบริหารแคว้นประเทศบาสก์ได้รายงานว่ามีผู้เสียชีวิต 1,654 คนในช่วงเวลานั้น ในขณะที่นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นระบุว่าเหยื่อมี 126 คน<ref name="deia.com">{{es icon}} [https://archive.is/20120723171603/http://www.deia.com/2011/04/27/opinion/editorial/verdades-sobre-gernika "Verdades sobre Gernika"] ''[[Deia (newspaper)|Deia]]''. Retrieved 17 September 2013.</ref> (ภายหลังได้มีผู้ค้นคว้าวิจัยแก้ไขเป็น 153 คน)<ref name="euskonews1">{{es icon}} [http://www.euskonews.com/0621zbk/elkar_es.html "Los gernikarras hemos recibido desde niños por transmisión oral lo que fue el bombardeo"] Euskonews. Retrieved 17 September 2013.</ref> แหล่งข่าวอังกฤษแหล่งหนึ่งซึ่ง[[วิทยาลัยสงครามอากาศ]]นำมาใช้ อ้างว่ามีพลเรือนเสียชีวิต 400 คน<ref name="Air 1998">[[Corum, James S.]] (1998) "Inflated by Air. Common perceptions of civilian casualties from bombing". [[Air War College]].</ref><ref name="news.bbc.co.uk">[http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/6583639.stm "The legacy of Guernica"] BBC. Retrieved 17 September 2013.</ref> จดหมายเหตุโซเวียตอ้างว่ามีผู้เสียชีวิต 800 คน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1937 แต่จำนวนนี้อาจไม่ได้รวมถึงเหยื่อที่ภายหลังเสียชีวิตในโรงพยาบาลหรือที่ศพถูกฝังอยู่ใต้ซากปรักหักพัง<ref>Abrosov, Sergei. ''V nebe Ispanii, 1936–1939 gody''. Moscow 2003.{{ISBN|978-5-699-25288-6}}</ref>
การโจมตีได้รับการโต้แย้งเพราะเกี่ยวโยงกับการทิ้งระเบิดใส่พลเรือนโดยกองทัพอากาศ จำนวนของเหยื่อยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ฝ่ายบริหารแคว้นประเทศบาสก์ได้รายงานว่ามีผู้เสียชีวิต 1,654 คนในช่วงเวลานั้น ในขณะที่นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นระบุว่าเหยื่อมี 126 คน<ref name="deia.com">[https://archive.is/20120723171603/http://www.deia.com/2011/04/27/opinion/editorial/verdades-sobre-gernika "Verdades sobre Gernika"] ''[[Deia (newspaper)|Deia]]''. Retrieved 17 September 2013. {{es icon}}</ref> (ภายหลังได้มีผู้ค้นคว้าวิจัยแก้ไขเป็น 153 คน)<ref name="euskonews1">[http://www.euskonews.com/0621zbk/elkar_es.html "Los gernikarras hemos recibido desde niños por transmisión oral lo que fue el bombardeo"] Euskonews. Retrieved 17 September 2013. {{es icon}}</ref> แหล่งข่าวอังกฤษแหล่งหนึ่งซึ่ง[[วิทยาลัยสงครามอากาศ]]นำมาใช้ อ้างว่ามีพลเรือนเสียชีวิต 400 คน<ref name="Air 1998">[[Corum, James S.]] (1998) "Inflated by Air. Common perceptions of civilian casualties from bombing". [[Air War College]].</ref><ref name="news.bbc.co.uk">[http://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/6583639.stm "The legacy of Guernica"] BBC. Retrieved 17 September 2013.</ref> จดหมายเหตุโซเวียตอ้างว่ามีผู้เสียชีวิต 800 คน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1937 แต่จำนวนนี้อาจไม่ได้รวมถึงเหยื่อที่ภายหลังเสียชีวิตในโรงพยาบาลหรือที่ศพถูกฝังอยู่ใต้ซากปรักหักพัง<ref>Abrosov, Sergei. ''V nebe Ispanii, 1936–1939 gody''. Moscow 2003.{{ISBN|978-5-699-25288-6}}</ref>


การทิ้งระเบิดครั้งนี้กลายประเด็นใน[[เกร์นิกา (ปิกาโซ)|ภาพวาดต่อต้านสงคราม]]ที่โด่งดังโดย[[ปาโบล ปิกาโซ]] ซึ่งได้รับมอบหมายจาก[[สาธารณรัฐสเปนที่ 2|สาธารณรัฐสเปน]] และยังได้รับการบันทึกในภาพพิมพ์แกะไม้โดย[[ไฮนทซ์ คีวิทซ์]]<ref>Siegfried Gnichwitz, [http://kiwitz.hjs-kunst.com/Kiwitz_Folder.pdf "Heinz Kiwitz: gekämpft · vertrieben · verschollen"] (PDF) Stiftung Brennender Dornbusch. Folder from an exhibition in honor of the 100th anniversary of Kiwitz' birth. Liebfrauenkirche, Duisburg (7 November – 5 December 2010), pp.&nbsp;4–5. Retrieved 10 February 2012 {{de icon}}</ref> ศิลปินชาวเยอรมัน ซึ่งภายหลังเสียชีวิตจากการสู้รบใน[[กองพลน้อยนานาชาติ]]<ref>Thomas Becker, [https://www.derwesten.de/staedte/duisburg/willkommen-im-club-id1427424.html "Willkommen im Club"] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160304083022/http://www.derwesten.de/staedte/duisburg/willkommen-im-club-id1427424.html |date=4 March 2016 }} ''Der Westen'' (7 October 2008). Retrieved 11 February 2012 {{de icon}}</ref> การทิ้งระเบิดยังสร้างความตกตะลึงและแรงบันดาลใจให้แก่ศิลปินอื่น ๆ อีกมากมาย รวมถึงประติมากรรมโดย[[เรอเน อีเช]]; หนึ่งในผลงานดนตรีอิเล็กโทรอะคูสติกชิ้นแรกโดย[[ปาทริก อัชชีโอเน]]; งานประพันธ์ดนตรีโดย[[เรอเน-หลุยส์ บารง]] และ[[ออกตาบิโอ บัซเกซ]]; บทกวีโดย[[ปอล เอลุอาร์]] ({{lang|fr|La victoire de Guernica}}; "ชัยชนะแห่งเกร์นิกา") และ[[เอยส์ ครีเคอ]] ({{lang|af|Nag van die Fascistiese Bomwerpers}}; "ค่ำคืนแห่งการทิ้งระเบิดฟาสซิสต์") นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์สั้นจาก ค.ศ. 1950 ที่มีชื่อว่า ''เกร์นิกา'' โดย[[อาแล็ง แรแน]]
การทิ้งระเบิดครั้งนี้กลายประเด็นใน[[เกร์นิกา (ปิกาโซ)|ภาพวาดต่อต้านสงคราม]]ที่โด่งดังโดย[[ปาโบล ปิกาโซ]] ซึ่งได้รับมอบหมายจาก[[สาธารณรัฐสเปนที่ 2|สาธารณรัฐสเปน]] และยังได้รับการบันทึกในภาพพิมพ์แกะไม้โดย[[ไฮนทซ์ คีวิทซ์]]<ref>Siegfried Gnichwitz, [http://kiwitz.hjs-kunst.com/Kiwitz_Folder.pdf "Heinz Kiwitz: gekämpft · vertrieben · verschollen"] (PDF) Stiftung Brennender Dornbusch. Folder from an exhibition in honor of the 100th anniversary of Kiwitz' birth. Liebfrauenkirche, Duisburg (7 November – 5 December 2010), pp.&nbsp;4–5. Retrieved 10 February 2012 {{de icon}}</ref> ศิลปินชาวเยอรมัน ซึ่งภายหลังเสียชีวิตจากการสู้รบใน[[กองพลน้อยนานาชาติ]]<ref>Thomas Becker, [https://www.derwesten.de/staedte/duisburg/willkommen-im-club-id1427424.html "Willkommen im Club"] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160304083022/http://www.derwesten.de/staedte/duisburg/willkommen-im-club-id1427424.html |date=4 March 2016 }} ''Der Westen'' (7 October 2008). Retrieved 11 February 2012 {{de icon}}</ref> การทิ้งระเบิดยังสร้างความตกตะลึงและแรงบันดาลใจให้แก่ศิลปินอื่น ๆ อีกมากมาย รวมถึงประติมากรรมโดย[[เรอเน อีเช]]; หนึ่งในผลงานดนตรีอิเล็กโทรอะคูสติกชิ้นแรกโดย[[ปาทริก อัชชีโอเน]]; งานประพันธ์ดนตรีโดย[[เรอเน-หลุยส์ บารง]] และ[[ออกตาบิโอ บัซเกซ]]; บทกวีโดย[[ปอล เอลุอาร์]] ({{lang|fr|La victoire de Guernica}}; "ชัยชนะแห่งเกร์นิกา") และ[[เอยส์ ครีเคอ]] ({{lang|af|Nag van die Fascistiese Bomwerpers}}; "ค่ำคืนแห่งการทิ้งระเบิดฟาสซิสต์") นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์สั้นจาก ค.ศ. 1950 ที่มีชื่อว่า ''เกร์นิกา'' โดย[[อาแล็ง แรแน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:43, 30 มีนาคม 2564

ปฏิบัติการรือเกิน
ส่วนหนึ่งของ สงครามกลางเมืองสเปน
สภาพความเสียหายของเกร์นิกา (ค.ศ. 1937)
เกร์นิกาตั้งอยู่ในสเปน
เกร์นิกา
เกร์นิกา
ที่ตั้งของเมืองเกร์นิกาในประเทศสเปน
ชนิดการทิ้งระเบิดทางอากาศ
ตำแหน่งเกร์นิกา แคว้นประเทศบาสก์ ประเทศสเปน
43°18′50″N 2°40′42″W / 43.31389°N 2.67833°W / 43.31389; -2.67833
โดยสภากลาโหมแห่งชาติสเปน
วันที่26 เมษายน 1937; 87 ปีก่อน (1937-04-26)
16:30 – 19:30 น. (เวลายุโรปกลาง)
ผู้ลงมือสเปนชาตินิยม
ผู้สูญเสีย~150–1,650 คน (การประเมินแตกต่างกันไป)

การทิ้งระเบิดที่เกร์นิกา (สเปน: bombardeo de Guernica; บาสก์: Gernikako bonbardaketa; เยอรมัน: Luftangriff auf Guernica; อิตาลี: bombardamento di Guernica) เป็นการทิ้งระเบิดทางอากาศที่เกร์นิกาในแคว้นประเทศบาสก์เมื่อวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 1937 ระหว่างสงครามกลางเมืองสเปน โดยเป็นปฏิบัติการตามคำสั่งจากกลุ่มแห่งชาติของฟรันซิสโก ฟรังโก และดำเนินการโดยพันธมิตรอย่างหน่วยเลกีโอนค็อนดอร์แห่งลุฟท์วัฟเฟอของนาซีเยอรมนี และหน่วยอาเวียซีโอเนเลจีโอนาเรียของอิตาลีฟาสซิสต์ ภายใต้รหัสนามว่า ปฏิบัติการรือเกิน เมืองแห่งนี้ได้ถูกใช้เป็นศูนย์การสื่อสารหลังแนวหน้า ปฏิบัติการนี้เป็นการเปิดทางสู่การยึดครองบิลบาโอของฟรังโกและชัยชนะของเขาในสเปนตอนเหนือ

การโจมตีได้รับการโต้แย้งเพราะเกี่ยวโยงกับการทิ้งระเบิดใส่พลเรือนโดยกองทัพอากาศ จำนวนของเหยื่อยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ ฝ่ายบริหารแคว้นประเทศบาสก์ได้รายงานว่ามีผู้เสียชีวิต 1,654 คนในช่วงเวลานั้น ในขณะที่นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นระบุว่าเหยื่อมี 126 คน[1] (ภายหลังได้มีผู้ค้นคว้าวิจัยแก้ไขเป็น 153 คน)[2] แหล่งข่าวอังกฤษแหล่งหนึ่งซึ่งวิทยาลัยสงครามอากาศนำมาใช้ อ้างว่ามีพลเรือนเสียชีวิต 400 คน[3][4] จดหมายเหตุโซเวียตอ้างว่ามีผู้เสียชีวิต 800 คน เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1937 แต่จำนวนนี้อาจไม่ได้รวมถึงเหยื่อที่ภายหลังเสียชีวิตในโรงพยาบาลหรือที่ศพถูกฝังอยู่ใต้ซากปรักหักพัง[5]

การทิ้งระเบิดครั้งนี้กลายประเด็นในภาพวาดต่อต้านสงครามที่โด่งดังโดยปาโบล ปิกาโซ ซึ่งได้รับมอบหมายจากสาธารณรัฐสเปน และยังได้รับการบันทึกในภาพพิมพ์แกะไม้โดยไฮนทซ์ คีวิทซ์[6] ศิลปินชาวเยอรมัน ซึ่งภายหลังเสียชีวิตจากการสู้รบในกองพลน้อยนานาชาติ[7] การทิ้งระเบิดยังสร้างความตกตะลึงและแรงบันดาลใจให้แก่ศิลปินอื่น ๆ อีกมากมาย รวมถึงประติมากรรมโดยเรอเน อีเช; หนึ่งในผลงานดนตรีอิเล็กโทรอะคูสติกชิ้นแรกโดยปาทริก อัชชีโอเน; งานประพันธ์ดนตรีโดยเรอเน-หลุยส์ บารง และออกตาบิโอ บัซเกซ; บทกวีโดยปอล เอลุอาร์ (La victoire de Guernica; "ชัยชนะแห่งเกร์นิกา") และเอยส์ ครีเคอ (Nag van die Fascistiese Bomwerpers; "ค่ำคืนแห่งการทิ้งระเบิดฟาสซิสต์") นอกจากนี้ยังมีภาพยนตร์สั้นจาก ค.ศ. 1950 ที่มีชื่อว่า เกร์นิกา โดยอาแล็ง แรแน

อ้างอิง

  1. "Verdades sobre Gernika" Deia. Retrieved 17 September 2013. (สเปน)
  2. "Los gernikarras hemos recibido desde niños por transmisión oral lo que fue el bombardeo" Euskonews. Retrieved 17 September 2013. (สเปน)
  3. Corum, James S. (1998) "Inflated by Air. Common perceptions of civilian casualties from bombing". Air War College.
  4. "The legacy of Guernica" BBC. Retrieved 17 September 2013.
  5. Abrosov, Sergei. V nebe Ispanii, 1936–1939 gody. Moscow 2003.ISBN 978-5-699-25288-6
  6. Siegfried Gnichwitz, "Heinz Kiwitz: gekämpft · vertrieben · verschollen" (PDF) Stiftung Brennender Dornbusch. Folder from an exhibition in honor of the 100th anniversary of Kiwitz' birth. Liebfrauenkirche, Duisburg (7 November – 5 December 2010), pp. 4–5. Retrieved 10 February 2012 (เยอรมัน)
  7. Thomas Becker, "Willkommen im Club" เก็บถาวร 4 มีนาคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Der Westen (7 October 2008). Retrieved 11 February 2012 (เยอรมัน)