ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบินไทยสมายล์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 6 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
บรรทัด 24: บรรทัด 24:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
ในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554 นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย(ในขณะนั้น) ได้ออกมาพูดเกี่ยวกับไทยสมายล์ ซึ่งแผนเดิมจะเริ่มจากเส้นทางภายในประเทศก่อน ได้แก่ อุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย และสุราษฎร์ธานี<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/203164 |title=ดีเดย์ ก.ค.55 เปิด 'ไทยสมายล์' เส้นทางในประเทศ|work=[[ไทยรัฐ]] |date=20 กันยายน 2554|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref> ในวันที่ 29 มิถุนายน 2555 [[การบินไทย]] และไทยสมายล์ได้รับมอบเครื่องบินลำแรก คือ HS-TXA (อุบลราชธานี)<ref>[https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/?page=32 การบินไทยสมายล์รับมอบเครื่องบินลำแรก]</ref> จากนั้นวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ไทยสมายล์ได้เริ่มบินเที่ยวแรก คือ [[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ|กรุงเทพ]]-[[ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า|มาเก๊า]] ด้วยเครื่องบินแอร์บัส A320-200 ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้โดยสารเป็นอย่างดี โดยเที่ยวบินแรกมีอัตราการบรรทุกผู้โดยสาร (เคบินแฟคเตอร์) 100% ส่วนยอดจองตั๋วโดยสารล่วงหน้าในเส้นทางบินอื่นๆ ยอดจองมีอย่างต่อเนื่องในทุกเส้นทางบินในประเทศที่เปิดทำการบิน โดยมีเคบินแฟคเตอร์เฉลี่ย 70-72%<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/274467|title="ไทยสมายล์" พร้อมเหินฟ้า สยายปีกบินทั่วไทยก่อนรุกตลาดอาเซียน|work=[[ไทยรัฐ]] |date=9 กรกฎาคม 2555|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref>
ในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554 นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย(ในขณะนั้น) ได้ออกมาพูดเกี่ยวกับไทยสมายล์ ซึ่งแผนเดิมจะเริ่มจากเส้นทางภายในประเทศก่อน ได้แก่ อุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย และสุราษฎร์ธานี<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/203164 |title=ดีเดย์ ก.ค.55 เปิด 'ไทยสมายล์' เส้นทางในประเทศ|work=[[ไทยรัฐ]] |date=20 กันยายน 2554|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref> ในวันที่ 29 มิถุนายน 2555 [[การบินไทย]] และไทยสมายล์ได้รับมอบเครื่องบินลำแรก คือ HS-TXA (อุบลราชธานี)<ref>{{Cite web |url=https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/?page=32 |title=การบินไทยสมายล์รับมอบเครื่องบินลำแรก |access-date=2020-05-03 |archive-date=2020-08-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200811055738/https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/?page=32 |url-status=dead }}</ref> จากนั้นวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ไทยสมายล์ได้เริ่มบินเที่ยวแรก คือ [[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ|กรุงเทพ]]-[[ท่าอากาศยานนานาชาติมาเก๊า|มาเก๊า]] ด้วยเครื่องบินแอร์บัส A320-200 ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้โดยสารเป็นอย่างดี โดยเที่ยวบินแรกมีอัตราการบรรทุกผู้โดยสาร (เคบินแฟคเตอร์) 100% ส่วนยอดจองตั๋วโดยสารล่วงหน้าในเส้นทางบินอื่นๆ ยอดจองมีอย่างต่อเนื่องในทุกเส้นทางบินในประเทศที่เปิดทำการบิน โดยมีเคบินแฟคเตอร์เฉลี่ย 70-72%<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/274467|title="ไทยสมายล์" พร้อมเหินฟ้า สยายปีกบินทั่วไทยก่อนรุกตลาดอาเซียน|work=[[ไทยรัฐ]] |date=9 กรกฎาคม 2555|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref>


ในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (ขณะนั้นดำรงพระอิสริยยศที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ|สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ]](พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติในขณะนั้น) ไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดไทยสมายล์อย่างเป็นทางการ<ref>[https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/thai-smile-launch พิธีเปิดไทยสมาล์อย่างเป็นทางการ]</ref> ในช่วงแรก ไทยสมายล์ทำการบินโดยใช้รหัสสายการบินเดียวกันกับการบินไทย คือ TG และหลังจากนั้น วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557 การบินไทยสมายล์ได้รับรหัสสายการบินจากกรมการบินพลเรือนของตัวเอง คือ WE<ref>[https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/airline-code-we การบินไทยสมายล์พร้อมทำการบินด้วยรหัสใหม่ WE]</ref>
ในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 [[พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (ขณะนั้นดำรงพระอิสริยยศที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ|สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ]](พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติในขณะนั้น) ไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดไทยสมายล์อย่างเป็นทางการ<ref>{{Cite web |url=https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/thai-smile-launch |title=พิธีเปิดไทยสมาล์อย่างเป็นทางการ |access-date=2020-05-03 |archive-date=2021-06-25 |archive-url=https://web.archive.org/web/20210625070130/https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/thai-smile-launch |url-status=dead }}</ref> ในช่วงแรก ไทยสมายล์ทำการบินโดยใช้รหัสสายการบินเดียวกันกับการบินไทย คือ TG และหลังจากนั้น วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557 การบินไทยสมายล์ได้รับรหัสสายการบินจากกรมการบินพลเรือนของตัวเอง คือ WE<ref>{{Cite web |url=https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/airline-code-we |title=การบินไทยสมายล์พร้อมทำการบินด้วยรหัสใหม่ WE |access-date=2020-05-03 |archive-date=2020-08-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200811071643/https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/airline-code-we |url-status=dead }}</ref>


ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ไทยสมายล์ได้เพิ่มฐานการบิน โดยบินจาก[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] ไปยังเชียงใหม่ ขอนแก่น และภูเก็ต ซึ่งเป็นการแบ่งมาเส้นทางมาจาก[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]บางส่วน<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/442115|title=การบินไทยทำแผนฟื้นฟู ลดขาดทุนหมื่นล้าน ส่ง 'ไทยสมายล์' บินดอนเมืองวันแรก|work=[[ไทยรัฐ]] |date=8 สิงหาคม 2557|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref>
ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ไทยสมายล์ได้เพิ่มฐานการบิน โดยบินจาก[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] ไปยังเชียงใหม่ ขอนแก่น และภูเก็ต ซึ่งเป็นการแบ่งมาเส้นทางมาจาก[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]บางส่วน<ref>{{Cite web|url=https://www.thairath.co.th/content/442115|title=การบินไทยทำแผนฟื้นฟู ลดขาดทุนหมื่นล้าน ส่ง 'ไทยสมายล์' บินดอนเมืองวันแรก|work=[[ไทยรัฐ]] |date=8 สิงหาคม 2557|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref>
บรรทัด 34: บรรทัด 34:
วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560 ไทยสมายล์ได้ย้ายฐานการบินจาก[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]]กลับไปรวมที่[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]<ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/money/448573/|title=ไทยสมายล์ย้ายไปสุวรรณภูมิ16ม.ค.2560|work=[[สนุก.คอม]] |date=24 ธันวาคม 2559|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref> เพื่อให้สามารถบริหารจัดการการบินของไทยสมายล์ง่ายขึ้น
วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560 ไทยสมายล์ได้ย้ายฐานการบินจาก[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]]กลับไปรวมที่[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]<ref>{{Cite web|url=https://www.sanook.com/money/448573/|title=ไทยสมายล์ย้ายไปสุวรรณภูมิ16ม.ค.2560|work=[[สนุก.คอม]] |date=24 ธันวาคม 2559|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref> เพื่อให้สามารถบริหารจัดการการบินของไทยสมายล์ง่ายขึ้น


ในปี 2562 ไทยสมายล์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ หรือ ไออาตา (IATA)<ref>[https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_1891 ไทยสมายล์ได้รับบรรจุเป็นสมาชิกของไออาตา]</ref> และในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ไทยสมายล์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกคอนเน็กติงเครือข่าย[[สตาร์อัลไลแอนซ์]]<ref>{{Cite web|url=https://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/69630|title=ไทยสมายล์เข้าร่วมเป็น Connecting Partner|work=กรุงเทพธุรกิจ |date=25 กุมภาพันธ์ 2563|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref>
ในปี 2562 ไทยสมายล์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ หรือ ไออาตา (IATA)<ref>{{Cite web |url=https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_1891 |title=ไทยสมายล์ได้รับบรรจุเป็นสมาชิกของไออาตา |access-date=2020-05-03 |archive-date=2020-08-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200811060247/https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_1891 |url-status=dead }}</ref> และในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ไทยสมายล์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกคอนเน็กติงเครือข่าย[[สตาร์อัลไลแอนซ์]]<ref>{{Cite web|url=https://www.bangkokbiznews.com/pr/detail/69630|title=ไทยสมายล์เข้าร่วมเป็น Connecting Partner|work=กรุงเทพธุรกิจ |date=25 กุมภาพันธ์ 2563|accessdate=3 พฤษภาคม 2563}}</ref>


ในปี พ.ศ. 2566 การบินไทยได้ยุติบทบาทของสายการบินไทยสไมล์ โดยรวมธุรกิจทั้งหมดมาบริหารจัดการภายใต้บริษัทเดียว<ref>{{Cite news|date=2023-02-22|title=การบินไทย จ่อยุบไทยสมายล์ ควบรวม-ลดต้นทุนลุ้นผล ก.ค.นี้|language=th-TH|work=ประชาชาติธุรกิจ|url=https://www.prachachat.net/tourism/news-1210186|access-date=2023-02-23}}</ref> ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด มีผลประกอบการขาดทุนมาโดยตลอด โดยเมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2564 บริษัทขาดทุนสะสมกว่า 1.5 หมื่นล้านบาท<ref>{{Cite news|last=kaset|date=2023-02-22|title=“ไทยสมายล์” 9 ปี ขาดทุนสะสมกว่า 1.5 หมื่นล้าน|language=th-TH|work=ประชาชาติธุรกิจ|url=https://www.prachachat.net/tourism/news-1210368|access-date=2023-02-23}}</ref> โดยไทยสไมล์ได้บินจำนวน 4 เส้นทางสุดท้ายก่อนยุติการดำเนินงานเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม<ref>{{Cite news|date=31 ธันวาคม 2023|title=ปิดตำนาน 11 ปี 'สายการบินไทยสมายล์' โพสต์คลิปอำลาผู้โดยสารครั้งสุดท้าย|work=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/news-update/1106303|url-status=live|access-date=31 ธันวาคม 2023}}</ref>
ในปี พ.ศ. 2566 การบินไทยได้ยุติบทบาทของสายการบินไทยสไมล์ โดยรวมธุรกิจทั้งหมดมาบริหารจัดการภายใต้บริษัทเดียว<ref>{{Cite news|date=2023-02-22|title=การบินไทย จ่อยุบไทยสมายล์ ควบรวม-ลดต้นทุนลุ้นผล ก.ค.นี้|language=th-TH|work=ประชาชาติธุรกิจ|url=https://www.prachachat.net/tourism/news-1210186|access-date=2023-02-23}}</ref> ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด มีผลประกอบการขาดทุนมาโดยตลอด โดยเมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2564 บริษัทขาดทุนสะสมกว่า 1.5 หมื่นล้านบาท<ref>{{Cite news|last=kaset|date=2023-02-22|title=“ไทยสมายล์” 9 ปี ขาดทุนสะสมกว่า 1.5 หมื่นล้าน|language=th-TH|work=ประชาชาติธุรกิจ|url=https://www.prachachat.net/tourism/news-1210368|access-date=2023-02-23}}</ref> โดยไทยสไมล์ได้บินจำนวน 4 เส้นทางสุดท้ายก่อนยุติการดำเนินงานเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม<ref>{{Cite news|date=31 ธันวาคม 2023|title=ปิดตำนาน 11 ปี 'สายการบินไทยสมายล์' โพสต์คลิปอำลาผู้โดยสารครั้งสุดท้าย|work=[[กรุงเทพธุรกิจ]]|url=https://www.bangkokbiznews.com/news/news-update/1106303|url-status=live|access-date=31 ธันวาคม 2023}}</ref>
บรรทัด 49: บรรทัด 49:


=== ข้อตกลงการทำการบินร่วม ===
=== ข้อตกลงการทำการบินร่วม ===
ในปี พ.ศ. 2561 ทั้งไทยสมายล์และ[[การบินไทย]]ได้มี[[ข้อตกลงการทำการบินร่วม]]กับ[[นกแอร์]]ในเส้นทาง[[ท่าอากาศยานดอนเมือง|ดอนเมือง]]-[[ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน|แม่ฮ่องสอน]] โดยนกแอร์เป็นผู้ทำการบิน<ref>[https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_1667 การบินไทย นกแอร์ ไทยสมายล์ ร่วม MOU เที่ยวบินร่วมบริการ บินตรงสู่แม่ฮ่องสอน]</ref> (เที่ยวบินแรก วันที่ 25 มีนาคม 2561) และได้ทำการยกเลิกเส้นทางนี้ไปแล้ว ข้อตกลงระหว่างสายการบินไทย และนกแอร์ได้สิ้นสุดลง
ในปี พ.ศ. 2561 ทั้งไทยสมายล์และ[[การบินไทย]]ได้มี[[ข้อตกลงการทำการบินร่วม]]กับ[[นกแอร์]]ในเส้นทาง[[ท่าอากาศยานดอนเมือง|ดอนเมือง]]-[[ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน|แม่ฮ่องสอน]] โดยนกแอร์เป็นผู้ทำการบิน<ref>{{Cite web |url=https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_1667 |title=การบินไทย นกแอร์ ไทยสมายล์ ร่วม MOU เที่ยวบินร่วมบริการ บินตรงสู่แม่ฮ่องสอน |access-date=2020-05-03 |archive-date=2020-08-11 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200811063202/https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_1667 |url-status=dead }}</ref> (เที่ยวบินแรก วันที่ 25 มีนาคม 2561) และได้ทำการยกเลิกเส้นทางนี้ไปแล้ว ข้อตกลงระหว่างสายการบินไทย และนกแอร์ได้สิ้นสุดลง


== ฝูงบิน ==
== ฝูงบิน ==
บรรทัด 61: บรรทัด 61:


=== เช็คอิน ===
=== เช็คอิน ===
เที่ยวบินที่ไทยสมายล์ให้บริการเช็คอินที่[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] Row B <ref>[https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_2123 ไทยสมายล์ขอเรียนแจ้งผู้โดยสารให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงเคาน์เตอร์เช็คอิน]</ref>
เที่ยวบินที่ไทยสมายล์ให้บริการเช็คอินที่[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] Row B <ref>{{Cite web |url=https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_2123 |title=ไทยสมายล์ขอเรียนแจ้งผู้โดยสารให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงเคาน์เตอร์เช็คอิน |access-date=2020-05-03 |archive-date=2020-07-27 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200727145411/https://www.thaismileair.com/th/newsupdates/news_2123 |url-status=dead }}</ref>


=== ห้องโดยสาร ===
=== ห้องโดยสาร ===

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:29, 2 มีนาคม 2567

ไทยสมายล์ แอร์เวยส์
IATA ICAO รหัสเรียก
WE THD THAI SMILE
ก่อตั้ง19 สิงหาคม พ.ศ. 2554
เริ่มดำเนินงาน7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
เลิกดำเนินงาน31 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ท่าหลักท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
เมืองสำคัญท่าอากาศยานเชียงใหม่
สะสมไมล์รอยัลออร์คิดพลัส
พันธมิตรการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ (สมาชิกคอนเน็กติง)
ขนาดฝูงบิน20
จุดหมาย31 (อัปเดตล่าสุด 1 พ.ค. 63)
บริษัทแม่การบินไทย
สำนักงานใหญ่89 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
บุคลากรหลักวิเศรษฐ์ สนธิชัย
รักษาการประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
เว็บไซต์http://www.thaismileair.com

บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ส จำกัด เป็นสายการบินในภูมิภาคไทยที่เริ่มกิจการใน พ.ศ. 2555 และเป็นบริษัทย่อยที่ถือหุ้นทั้งหมดของการบินไทย[1]

ประวัติ[แก้]

ในวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554 นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่การบินไทย(ในขณะนั้น) ได้ออกมาพูดเกี่ยวกับไทยสมายล์ ซึ่งแผนเดิมจะเริ่มจากเส้นทางภายในประเทศก่อน ได้แก่ อุบลราชธานี อุดรธานี ขอนแก่น เชียงราย และสุราษฎร์ธานี[2] ในวันที่ 29 มิถุนายน 2555 การบินไทย และไทยสมายล์ได้รับมอบเครื่องบินลำแรก คือ HS-TXA (อุบลราชธานี)[3] จากนั้นวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ไทยสมายล์ได้เริ่มบินเที่ยวแรก คือ กรุงเทพ-มาเก๊า ด้วยเครื่องบินแอร์บัส A320-200 ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้โดยสารเป็นอย่างดี โดยเที่ยวบินแรกมีอัตราการบรรทุกผู้โดยสาร (เคบินแฟคเตอร์) 100% ส่วนยอดจองตั๋วโดยสารล่วงหน้าในเส้นทางบินอื่นๆ ยอดจองมีอย่างต่อเนื่องในทุกเส้นทางบินในประเทศที่เปิดทำการบิน โดยมีเคบินแฟคเตอร์เฉลี่ย 70-72%[4]

ในวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะนั้นดำรงพระอิสริยยศที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ(พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติในขณะนั้น) ไปทรงเป็นประธานในพิธีเปิดไทยสมายล์อย่างเป็นทางการ[5] ในช่วงแรก ไทยสมายล์ทำการบินโดยใช้รหัสสายการบินเดียวกันกับการบินไทย คือ TG และหลังจากนั้น วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557 การบินไทยสมายล์ได้รับรหัสสายการบินจากกรมการบินพลเรือนของตัวเอง คือ WE[6]

ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557 ไทยสมายล์ได้เพิ่มฐานการบิน โดยบินจากท่าอากาศยานดอนเมือง ไปยังเชียงใหม่ ขอนแก่น และภูเก็ต ซึ่งเป็นการแบ่งมาเส้นทางมาจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบางส่วน[7]

ในปีพ.ศ. 2558 ไทยสมายล์ได้เปลี่ยนแนวคิดจาก Trendy – Friendly – Worthy เป็น SMART – SABAI – SMILE ซึ่งในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558 ได้เปิดตัวเครื่องแบบพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินใหม่ ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 8 รูปแบบ[8] และในวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 การบินไทยสมายล์ได้เปิดตัวเครื่องแบบพนักงานบริการภาคพื้นใหม่เช่นกัน[9]

วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560 ไทยสมายล์ได้ย้ายฐานการบินจากท่าอากาศยานดอนเมืองกลับไปรวมที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ[10] เพื่อให้สามารถบริหารจัดการการบินของไทยสมายล์ง่ายขึ้น

ในปี 2562 ไทยสมายล์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาคมขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ หรือ ไออาตา (IATA)[11] และในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ไทยสมายล์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกคอนเน็กติงเครือข่ายสตาร์อัลไลแอนซ์[12]

ในปี พ.ศ. 2566 การบินไทยได้ยุติบทบาทของสายการบินไทยสไมล์ โดยรวมธุรกิจทั้งหมดมาบริหารจัดการภายใต้บริษัทเดียว[13] ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของบริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด มีผลประกอบการขาดทุนมาโดยตลอด โดยเมื่อสิ้นปี พ.ศ. 2564 บริษัทขาดทุนสะสมกว่า 1.5 หมื่นล้านบาท[14] โดยไทยสไมล์ได้บินจำนวน 4 เส้นทางสุดท้ายก่อนยุติการดำเนินงานเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม[15]

จุดหมายปลายทาง[แก้]

ไทยสมายล์บินไปยัง 31 จุดหมายปลายทางใน 9 ประเทศบนภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

ไทยสมายล์ให้บริการที่สนามบินสุวรรณภูมิ โดยรองรับเที่ยวบินให้สามารถเดินทางต่อกับสายการบินไทยได้อย่างราบรื่น จุดหมายแรกที่การบินไทยสมายล์เริ่มทำการบินคือ มาเก๊า โดยเริ่มให้บริการในเดือนกรกฎาคม จำนวน 2 เที่ยวบินต่อวัน ตั้งแต่วันที่ 7 กรกฎาคม 2555 เป็นต้นไป ทั้งนี้ แต่เดิมสายการบินไทยสมายล์ได้มีการให้บริการผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง ไปยังจุดหมายปลายทางทั้งสิ้น 3 เส้นทางบินไป - กลับ ได้แก่ เชียงใหม่ วันละ 3 เที่ยวบิน, ขอนแก่น วันละ 3 เที่ยวบิน และ ภูเก็ต วันละ 2 เที่ยวบิน นับตั้งแต่เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พุทธศักราช 2557 มาโดยตลอดจนกระทั่งถึงวันที่ 15 มกราคม พุทธศักราช 2560 ได้ให้บริการผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานดอนเมือง เป็นวันสุดท้าย และได้ทำการย้ายฐานการบินไปยังท่าอากาศยานสุวรรณภูมิทั้งหมด นับตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม พุทธศักราช 2560 ต่อมาวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 การบินไทยสมายล์ ยกเลิกเที่ยวบินกรุงเทพแวะภูเก็ตไปกว่างโจว โดยเปลี่ยนเป็นบินตรง กรุงเทพไปกว่างโจว

วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ไทยสมายล์ เปิดเส้นทางบินใหม่ไปกลับระหว่างฮ่องกงและภูเก็ต เที่ยวบิน WE608/WE609

สถานที่นำกระเป๋าขึ้นใต้ท้องเครื่องบินการบินไทยสมายล์

ข้อตกลงการทำการบินร่วม[แก้]

ในปี พ.ศ. 2561 ทั้งไทยสมายล์และการบินไทยได้มีข้อตกลงการทำการบินร่วมกับนกแอร์ในเส้นทางดอนเมือง-แม่ฮ่องสอน โดยนกแอร์เป็นผู้ทำการบิน[16] (เที่ยวบินแรก วันที่ 25 มีนาคม 2561) และได้ทำการยกเลิกเส้นทางนี้ไปแล้ว ข้อตกลงระหว่างสายการบินไทย และนกแอร์ได้สิ้นสุดลง

ฝูงบิน[แก้]

แอร์บัส เอ320 ของไทยสมายล์

ฝูงบินของไทยสมายล์มีอากาศยานดังนี้:

ฝูงบินไทยสมายล์
ชนิดเครื่องบิน แบบ ประจำการ หมายเหตุ
แอร์บัส เอ320-200 320 0 โอนไปการบินไทยทั้งหมด
32S 0
รวมทั้งหมด 0

การให้บริการ[แก้]

การบินไทยสมายล์มีการบริการที่มากกว่าสายการบินโลว์คอสต์ทั่วไป เช่น บริการเลือกที่นั่งและบริการเช็คอินเคานต์เตอร์โดยไม่คิดเงินเพิ่ม ให้อาหารว่างและเครื่องดื่มฟรีแก่ผู้โดยสารบนทุกเที่ยวบิน(ยกเว้นช่วงสถานการณ์โควิด-19 เพื่อให้เป็นไปตามประกาศกพท.[17]) และให้น้ำหนักกระเป๋าสัมภาระ 20 กิโลกรัม แก่ผู้โดยสารชั้นประหยัด “Smile” และ 30 กิโลกรัม ในชั้น “Smile Plus” เท่ากับทุกเที่ยวบินของการบินไทย

เช็คอิน[แก้]

เที่ยวบินที่ไทยสมายล์ให้บริการเช็คอินที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ Row B [18]

ห้องโดยสาร[แก้]

ห้องโดยสารบนเครื่องบินของการบินไทยสมายล์ในเส้นทางบินในประเทศได้รับการจัดวางเป็นที่นั่งชั้นประหยัด “Smile” จำนวน 156 ที่นั่ง และชั้นธุรกิจสำหรับเส้นทางบินระยะสั้น “Smile Plus” จำนวน 12 ที่นั่ง ส่วนเส้นทางบินระหว่างประเทศนั้นจัดวางที่นั่งชั้นประหยัด “Smile” จำนวน 150 ที่นั่ง และ ชั้นประหยัดพรีเมี่ยม “Smile Plus” จำนวน 16 ที่นั่ง โดยเลือกใช้เก้าอี้รุ่นใหม่ที่นั่งสบาย และการออกแบบตกแต่งภายในห้องโดยสารที่สอดคล้องกับบุคลิกที่สนุกสนานและทันสมัยของการบินไทยสมายล์

อาหารและเครื่องดื่ม[แก้]

  • ผู้โดยสารในชั้น สมายล์พลัส จะได้อาหารร้อนและเครื่องดื่ม
  • ผู้โดยสารในชั้นประหยัดทุกที่นั่งของการบินไทยสมายล์จะได้รับ สมายล์แพ็ค ประกอบด้วยขนมและเครื่องดื่มให้บริการฟรี

ผู้สนับสนุน[แก้]

ปัจจุบัน ไทยสมายล์เป็นผู้สนับสนุนอย่างเป็นทางการของสโมสรฟุตบอลราชบุรี มิตรผล[19][20]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Thai Smile focuses on turning around unprofitable Thai Airways routes as new AOC is secured". Centre for Aviation (CAPA). 3 April 2014.
  2. "ดีเดย์ ก.ค.55 เปิด 'ไทยสมายล์' เส้นทางในประเทศ". ไทยรัฐ. 20 กันยายน 2554. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "การบินไทยสมายล์รับมอบเครื่องบินลำแรก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-11. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
  4. ""ไทยสมายล์" พร้อมเหินฟ้า สยายปีกบินทั่วไทยก่อนรุกตลาดอาเซียน". ไทยรัฐ. 9 กรกฎาคม 2555. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "พิธีเปิดไทยสมาล์อย่างเป็นทางการ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-25. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
  6. "การบินไทยสมายล์พร้อมทำการบินด้วยรหัสใหม่ WE". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-11. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
  7. "การบินไทยทำแผนฟื้นฟู ลดขาดทุนหมื่นล้าน ส่ง 'ไทยสมายล์' บินดอนเมืองวันแรก". ไทยรัฐ. 8 สิงหาคม 2557. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. "ปังมั้ย! ยูนิฟอร์มใหม่ "ไทยสมายล์" ออกแบบโดย "มิลิน"". positioningmag. 18 กันยายน 2558. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. "ไทยสมายล์ ปรับลุค!! พนักงานบริการภาคพื้นยกชุด". เดลินิวส์. 1 กันยายน 2559. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "ไทยสมายล์ย้ายไปสุวรรณภูมิ16ม.ค.2560". สนุก.คอม. 24 ธันวาคม 2559. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. "ไทยสมายล์ได้รับบรรจุเป็นสมาชิกของไออาตา". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-11. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
  12. "ไทยสมายล์เข้าร่วมเป็น Connecting Partner". กรุงเทพธุรกิจ. 25 กุมภาพันธ์ 2563. สืบค้นเมื่อ 3 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. "การบินไทย จ่อยุบไทยสมายล์ ควบรวม-ลดต้นทุนลุ้นผล ก.ค.นี้". ประชาชาติธุรกิจ. 2023-02-22. สืบค้นเมื่อ 2023-02-23.
  14. kaset (2023-02-22). ""ไทยสมายล์" 9 ปี ขาดทุนสะสมกว่า 1.5 หมื่นล้าน". ประชาชาติธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 2023-02-23.
  15. "ปิดตำนาน 11 ปี 'สายการบินไทยสมายล์' โพสต์คลิปอำลาผู้โดยสารครั้งสุดท้าย". กรุงเทพธุรกิจ. 31 ธันวาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 31 ธันวาคม 2023.{{cite news}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  16. "การบินไทย นกแอร์ ไทยสมายล์ ร่วม MOU เที่ยวบินร่วมบริการ บินตรงสู่แม่ฮ่องสอน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-11. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
  17. ประกาศกพท. เรื่อง แนวปฏิบัติในการให้บริการผู้โดยสารในเส้นทางการบินภายในประเทศในระหว่างสถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  18. "ไทยสมายล์ขอเรียนแจ้งผู้โดยสารให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงเคาน์เตอร์เช็คอิน". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-27. สืบค้นเมื่อ 2020-05-03.
  19. ""ไทยฮอนด้า" ทุ่ม 100 ล้าน ลุยไทยลีก ตั้งเป้าท็อป 10". สืบค้นเมื่อ 29 January 2017.[ลิงก์เสีย]
  20. "สายการบินแรก!ราชบุรีจับมือไทยสมายล์". สืบค้นเมื่อ 15 September 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ การบินไทยสมายล์