ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/จัดรูปแบบ/กระดาษทด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lilylaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Lilylaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8: บรรทัด 8:
=== ความหมายดั้งเดิมของงานเทศกาล ===
=== ความหมายดั้งเดิมของงานเทศกาล ===
----
----
ประเพณีที่หลากหลายนี้อาจมีต้นกำเนิดมาจากข้อเท็จจจริงสองเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกัน ในสมัยจักรวรรดิไบแซน-ไทน์คริสตจักรได้กำหนดวันนักบุญมาร์ตินตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายนก่อนการเริ่มต้นการถือศีลอด40วันก่อนเทศกาลคริสต์มาสซึ่งยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยกลางจนถึงสมัยใหม่ มีเพียงโบสถ์นิกายออร์โธด็อกซ์บางแห่งเท่านั้นที่ยังคงมีการถือศีลอดนี้มาจนถึงปัจจุบัน วันสุดท้ายก่อนการถือศีลอดผู้คนยังคงสามารถเพลิดเพลินกับการรับประทานอาหารดีๆได้เหมือนช่วงเทศกาลคาร์นิวัล ด้วยเหตุนี้การฉลองเทศกาลคาร์นิวัลในแถบลุ่มแม่น้ำไรน์ได้ถือเอาวันนี้เป็นวันเริ่มต้นของงานเทศกาล อนึ่งตามประเพณีดั้งเดิมถือว่าวันนักบุญมาร์ตินเป็นวันถวายสิบลด ในสมัยก่อนผู้คนจะจ่ายภาษีโบสถ์ในรูปของผลผลิตจากธรรมชาติซึ่งก็รวมไปถึงห่านด้วย เนื่องจากสามารถจำกัดจำนวนการเลี้ยงสัตว์ก่อนช่วงฤดูหนาวที่กำลังจะมาเยือนได้ นอกจากนี้แล้ววันนี้ยังถือเป็นวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญาต่างๆไม่ว่าจะเป็นสัญญาเช่า สัญญาเงินกู้ หรือ ระยะเวลาการรับราชการทหาร ทุกวันนี้การกำหนดวันนักบุญมาร์ตินให้เป็นวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญาเช่าพื้นที่ยังคงเป็นที่นิยม เพราะตรงกับช่วงเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำการเกษตร ด้วยเหตุนี้จึงมีการเรียกวันนี้ว่าเป็นวันชำระดอกเบี้ยอีกด้วย
ประเพณีที่หลากหลายนี้อาจมีต้นกำเนิดมาจากข้อเท็จจจริงสองเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกัน ในสมัยจักรวรรดิไบแซนไทน์คริสตจักรได้กำหนดวันนักบุญมาร์ตินตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายนก่อนการเริ่มต้นการถือศีลอด40วันก่อนเทศกาลคริสต์มาสซึ่งยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยกลางจนถึงสมัยใหม่ มีเพียงโบสถ์นิกายออร์โธด็อกซ์บางแห่งเท่านั้นที่ยังคงมีการถือศีลอดนี้มาจนถึงปัจจุบัน วันสุดท้ายก่อนการถือศีลอดผู้คนยังคงสามารถเพลิดเพลินกับการรับประทานอาหารดีๆได้เหมือนช่วงเทศกาลคาร์นิวัล ด้วยเหตุนี้การฉลองเทศกาลคาร์นิวัลในแถบลุ่มแม่น้ำไรน์ได้ถือเอาวันนี้เป็นวันเริ่มต้นของงานเทศกาล อนึ่งตามประเพณีดั้งเดิมถือว่าวันนักบุญมาร์ตินเป็นวันถวายสิบลด ในสมัยก่อนผู้คนจะจ่ายภาษีโบสถ์ในรูปของผลผลิตจากธรรมชาติซึ่งก็รวมไปถึงห่านด้วย เนื่องจากสามารถจำกัดจำนวนการเลี้ยงสัตว์ก่อนช่วงฤดูหนาวที่กำลังจะมาเยือนได้ นอกจากนี้แล้ววันนี้ยังถือเป็นวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญาต่างๆไม่ว่าจะเป็นสัญญาเช่า สัญญาเงินกู้ หรือ ระยะเวลาการรับราชการทหาร ทุกวันนี้การกำหนดวันนักบุญมาร์ตินให้เป็นวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญาเช่าพื้นที่ยังคงเป็นที่นิยม เพราะตรงกับช่วงเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำการเกษตร ด้วยเหตุนี้จึงมีการเรียกวันนี้ว่าเป็นวันชำระดอกเบี้ยอีกด้วย


=== ประเพณี ===
=== ประเพณี ===
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
=== ขบวนแห่นักบุญมาร์ติน ===
=== ขบวนแห่นักบุญมาร์ติน ===
----
----
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 194-0448-38, Urdenbach, Sankt Martinszug.jpg|thumb|right|ขบวนแห่นักบุญมาร์ตินที่เมือง ดึสส์แซลดอร์ฟ-อัวเดนบาร์ค (Düsseldorf-Urdenbach) ปีค.ศ.1948]]
ขบวนแห่นี้สามารถพบได้ทั่วไปในหลายภูมิภาคของประเทศเยอรมนี ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ หรือแม้แต่แถบทิโรลตอนใต้ (Südtirol)และซิเลเซียตอนเหนือ(Oberschlesien) ในงานเทศกาลนี้เด็กๆจะประดิษฐ์โคมไฟแล้วเดินถือไปตามถนน หมู่บ้าน และในเมือง โดยที่พวกเขาจะเดินตามคนที่แต่งกายเสมือนอัศวินโรมันบนหลังม้าและสวมเสื้อคลุมสีแดงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของนักบุญมาร์ติน ที่เมืองบรีเจนซ์(Bregenz)ในประเทศออสเตรียจะเรียกประเพณีนี้ว่า การขี่ม้ามาร์ติน (Martinsritt) ส่วนใหญ่จะมีการแสดงตอนที่นักบุญมาร์ตินแบ่งเสื้อคลุมของท่านให้ชายขอทาน ระหว่างการเดินขบวนแห่ไปนั้นจะมีการร้องเพลงดั้งเดิมที่เกี่ยวกับนักบุญมาร์ตินประกอบไปด้วย โคมไฟที่เด็กๆถือนั้นส่วนใหญ่จะถูกประดิษฐ์ขึ้นก่อนงานเทศกาลโดยนักเรียนระดับอนุบาลและประถมศึกษาจะประดิษฐ์โคมไฟเหล่านี้ในชั่วโมงเรียน ในช่วงท้ายของงานเทศกาลนี้มักฉลองปิดท้ายด้วยกองไฟขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “เพลิงมาร์ติน” (Martinsfeuer) ในหลายพื้นที่เด็กๆจะได้รับขนมปังรูปคน (Weckmann) ซึ่งทำมาจากแป้งขนมปังผสมลูกเกด ในขณะที่ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีจะเป็นคุ้กกี้รูปห่านชิ้นเล็กๆจากแป้งคุ้กกี้หรือแป้งขนมปัง หรือขนมปังเบรตเซล บางพื้นที่ในเขตแม่น้ำรัวร์ (Ruhrgebiet) และแถบเมือง เซาเวอร์ลันด์ (Sauerland) และภูมิภาคอื่นๆของประเทศเยอรมนีเด็กๆจะได้รับขนมปังเบรตเซลซึ่งทำมาจากแป้งขนมปังโรยด้วยเกล็ดน้ำตาล<br />
ขบวนแห่นี้สามารถพบได้ทั่วไปในหลายภูมิภาคของประเทศเยอรมนี ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ หรือแม้แต่แถบทิโรลตอนใต้ (Südtirol)และซิเลเซียตอนเหนือ(Oberschlesien) ในงานเทศกาลนี้เด็กๆจะประดิษฐ์โคมไฟแล้วเดินถือไปตามถนน หมู่บ้าน และในเมือง โดยที่พวกเขาจะเดินตามคนที่แต่งกายเสมือนอัศวินโรมันบนหลังม้าและสวมเสื้อคลุมสีแดงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของนักบุญมาร์ติน ที่เมืองบรีเจนซ์(Bregenz)ในประเทศออสเตรียจะเรียกประเพณีนี้ว่า การขี่ม้ามาร์ติน (Martinsritt) ส่วนใหญ่จะมีการแสดงตอนที่นักบุญมาร์ตินแบ่งเสื้อคลุมของท่านให้ชายขอทาน ระหว่างการเดินขบวนแห่ไปนั้นจะมีการร้องเพลงดั้งเดิมที่เกี่ยวกับนักบุญมาร์ตินประกอบไปด้วย โคมไฟที่เด็กๆถือนั้นส่วนใหญ่จะถูกประดิษฐ์ขึ้นก่อนงานเทศกาลโดยนักเรียนระดับอนุบาลและประถมศึกษาจะประดิษฐ์โคมไฟเหล่านี้ในชั่วโมงเรียน ในช่วงท้ายของงานเทศกาลนี้มักฉลองปิดท้ายด้วยกองไฟขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “เพลิงมาร์ติน” (Martinsfeuer) ในหลายพื้นที่เด็กๆจะได้รับขนมปังรูปคน (Weckmann) ซึ่งทำมาจากแป้งขนมปังผสมลูกเกด ในขณะที่ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีจะเป็นคุ้กกี้รูปห่านชิ้นเล็กๆจากแป้งคุ้กกี้หรือแป้งขนมปัง หรือขนมปังเบรตเซล บางพื้นที่ในเขตแม่น้ำรัวร์ (Ruhrgebiet) และแถบเมือง เซาเวอร์ลันด์ (Sauerland) และภูมิภาคอื่นๆของประเทศเยอรมนีเด็กๆจะได้รับขนมปังเบรตเซลซึ่งทำมาจากแป้งขนมปังโรยด้วยเกล็ดน้ำตาล<br />
[[ไฟล์:Sunte-Marten.jpg|thumb|right|เด็กๆในขบวนแห่นักบุญมาร์ติน]]

ขบวนแห่นักบุญมาร์ตินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนีที่มีผู้ร่วมงานมากกว่า 4000 - 6000 คนจัดขึ้นที่เมืองวอร์มส์โฮกไฮม์(Worms-Hochheim), เมืองเคมเพ็มในเขตนีเดอร์ไรน์(Kempen am Niederrhein) และเมืองโบคอลท์(Bocholt) ปัจจุบันนี้บางพื้นที่จัดขบวนแห่งานเทศกาลในวันอื่นที่ใกล้เคียงกับวันงานเทศกาลจริงในกรณีที่มีเหตุจำเป็นและไม่สะดวกในการจัดงานให้ตรงกับวันนั้นได้ ตัวอย่างเช่นการจัดขบวนแห่ในบางพื้นที่ที่อาจมีเพียงผู้ที่รับบทเป็นนักบุญมาร์ตินเพียงคนเดียว อนึ่งประเพณีนี้ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเท่านั้น แต่ชาวเยอรมันในต่างแดนอย่างที่กรุงสต๊อกโฮม ประเทศสวีเดนหรือที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ก็มีการจัดขบวนฉลองงานเทศกาลนี้ด้วย<br />
ขบวนแห่นักบุญมาร์ตินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนีที่มีผู้ร่วมงานมากกว่า 4000 - 6000 คนจัดขึ้นที่เมืองวอร์มส์โฮกไฮม์(Worms-Hochheim), เมืองเคมเพ็มในเขตนีเดอร์ไรน์(Kempen am Niederrhein) และเมืองโบคอลท์(Bocholt) ปัจจุบันนี้บางพื้นที่จัดขบวนแห่งานเทศกาลในวันอื่นที่ใกล้เคียงกับวันงานเทศกาลจริงในกรณีที่มีเหตุจำเป็นและไม่สะดวกในการจัดงานให้ตรงกับวันนั้นได้ ตัวอย่างเช่นการจัดขบวนแห่ในบางพื้นที่ที่อาจมีเพียงผู้ที่รับบทเป็นนักบุญมาร์ตินเพียงคนเดียว อนึ่งประเพณีนี้ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเท่านั้น แต่ชาวเยอรมันในต่างแดนอย่างที่กรุงสต๊อกโฮม ประเทศสวีเดนหรือที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ก็มีการจัดขบวนฉลองงานเทศกาลนี้ด้วย<br />
*ข้อมูลเพิ่มเติม: เทศกาลเรเบนลิคท์ [[wikipedia:Räbenlicht|Räbenlicht]] ประเพณีที่ใกล้เคียงของแถบพื้นที่ที่ใช้ภาษาเยอรมันในประเทศสวิตเซอร์แลนด์
*ข้อมูลเพิ่มเติม: เทศกาลเรเบนลิคท์ [[wikipedia:Räbenlicht|Räbenlicht]] ประเพณีที่ใกล้เคียงของแถบพื้นที่ที่ใช้ภาษาเยอรมันในประเทศสวิตเซอร์แลนด์
บรรทัด 24: บรรทัด 25:
=== การร้องเพลงนักบุญมาร์ติน ===
=== การร้องเพลงนักบุญมาร์ติน ===
----
----
[[ไฟล์:Sankt Martin.jpg|thumb|right|นักบุญมาร์ติน – การแสดงของขบวนแห่นักบุญมาร์ติน]]
หลังจากการเดินขบวนแห่หรือตามกำหนดการของงานในหลายพื้นที่จะมีการร้องเพลงสรรเสริญนักบุญมาร์ติน (หรือเพลงนักบุญมาร์ตินี่) โดยที่เด็กๆจะร้องเพลงและเดินถือโคมไฟหรือโคมไฟกระดาษไปตามบ้านแต่ละหลังเพื่อขอขนมหวาน ขนมปัง ผลไม้ ฯลฯ นอกจากนี้แล้วยังมีกิจกรรมในท้องที่ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับประเพณีนี้ เช่นในแถบลุ่มแม่น้ำไรน์ (Rheinland) มีกิจกรรมการร้องเพลงเรี่ยไรหาเงินเพื่อการกุศลโดยมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปอย่าง เคิทเท่น (Kötten) ชเนอร์เซ่น (Schnörzen) ดอทเซ่น(Dotzen) หรือ กริบเช่น(Gribschen) ส่วนในบริเวณฟรีเซียนตะวันออก (Ostfriesland) หรือในพื้นที่อื่นๆของชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ก็มีประเพณีที่คล้ายคลึงกันโดยจัดขึ้นวันที่ 10 พฤศจิกายนเพียงแต่เป็นการระลึกถึงมาร์ติน ลูเทอร์แทนนักบุญมาร์ติน ในงานเทศกาลนี้มีการละเล่น “ค้อนทุบ” (Hammer-Hüt) ชื่อนี้มีที่มาจากลักษณะการร้องเพลงโดยที่ผู้ร้องจะใช้ค้อนทุบลงบนแผ่นไม้ที่เตรียมมาประกอบจังหวะ การละเล่นนี้พบได้ในเขตเฟียลันเดอ(Vierlande)ของนครรัฐฮัมบูร์ก
หลังจากการเดินขบวนแห่หรือตามกำหนดการของงานในหลายพื้นที่จะมีการร้องเพลงสรรเสริญนักบุญมาร์ติน (หรือเพลงนักบุญมาร์ตินี่) โดยที่เด็กๆจะร้องเพลงและเดินถือโคมไฟหรือโคมไฟกระดาษไปตามบ้านแต่ละหลังเพื่อขอขนมหวาน ขนมปัง ผลไม้ ฯลฯ นอกจากนี้แล้วยังมีกิจกรรมในท้องที่ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับประเพณีนี้ เช่นในแถบลุ่มแม่น้ำไรน์ (Rheinland) มีกิจกรรมการร้องเพลงเรี่ยไรหาเงินเพื่อการกุศลโดยมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปอย่าง เคิทเท่น (Kötten) ชเนอร์เซ่น (Schnörzen) ดอทเซ่น(Dotzen) หรือ กริบเช่น(Gribschen) ส่วนในบริเวณฟรีเซียนตะวันออก (Ostfriesland) หรือในพื้นที่อื่นๆของชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ก็มีประเพณีที่คล้ายคลึงกันโดยจัดขึ้นวันที่ 10 พฤศจิกายนเพียงแต่เป็นการระลึกถึงมาร์ติน ลูเทอร์แทนนักบุญมาร์ติน ในงานเทศกาลนี้มีการละเล่น “ค้อนทุบ” (Hammer-Hüt) ชื่อนี้มีที่มาจากลักษณะการร้องเพลงโดยที่ผู้ร้องจะใช้ค้อนทุบลงบนแผ่นไม้ที่เตรียมมาประกอบจังหวะ การละเล่นนี้พบได้ในเขตเฟียลันเดอ(Vierlande)ของนครรัฐฮัมบูร์ก



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:17, 21 กรกฎาคม 2556

ยินดีต้อนรับสู่ หน้าวิกิกระดาษทด หน้านี้เปิดโอกาสให้คุณได้ทดลองเขียน ลองแก้ไข ลองคำสั่ง เริ่มการแก้ไขได้โดยการกด ที่นี่ หรือเลือก แก้ไข ในส่วนบนสุดของหน้านี้ เมื่อได้ลองทำการแก้ไขเสร็จแล้วอย่าลืมกด "ดูตัวอย่าง" และหลังจากนั้นกด "บันทึก" ในด้านล่างของหน้า และคุณจะได้เห็นสิ่งที่คุณได้ลองทำลงไป เนื่องจากหน้านี้เป็นหน้าทดลองเท่านั้น ข้อความในหน้าจะถูกลบออกเป็นระยะ
  • กรุณาอย่าใส่ข้อความซึ่งละเมิดลิขสิทธิ์ เป็นคำหยาบ หรือคำด่าทอในส่วนกระดาษทดนี้ หากคุณมีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับวิกิพีเดีย สามารถสอบถามได้ที่วิกิพีเดีย:ถามคำถาม
  • และกรุณาอย่าลบแม่แบบนี้ การแก้ไขที่ลบแม่แบบนี้ออกจากหน้าจะถูกย้อนกลับทันทีที่ตรวจพบ

หรือคุณสามารถทดลองใช้หน้ากระดาษทดอื่น ๆ ได้ที่: ทดลองเขียน | ทดลองแก้ไข | ทดลองจัดรูปแบบ | ทดลองใส่วิกิพีเดียลิงก์ | ทดลองใส่แหล่งข้อมูลอื่น

วันนักบุญมาร์ติน


ภาพวาดสีน้ำมันนักบุญมาร์ตินและชายขอทานโดยแอล กรีโค่

วันนักบุญมาร์ติน Martinstag (หรือนักบุญมาร์ตินีในพื้นที่ทางตะวันออกของรัฐบาวาเรีย ประเทศเยอรมนี และประเทศออสเตรีย) ตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายนซึ่งเป็นวันระลึกถึงนักบุญมาร์ติน ฟอน ทัวร์ Martin von Toursในแถบยุโรปตอนกลางมีประเพณีมากมายเกี่ยวกับนักบุญท่านนี้อาทิเช่น การรับประทานห่านมาร์ติน ขบวนแห่มาร์ติน และการร้องเพลงมาร์ติน


ความหมายดั้งเดิมของงานเทศกาล


ประเพณีที่หลากหลายนี้อาจมีต้นกำเนิดมาจากข้อเท็จจจริงสองเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกัน ในสมัยจักรวรรดิไบแซนไทน์คริสตจักรได้กำหนดวันนักบุญมาร์ตินตรงกับวันที่ 11 พฤศจิกายนก่อนการเริ่มต้นการถือศีลอด40วันก่อนเทศกาลคริสต์มาสซึ่งยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยกลางจนถึงสมัยใหม่ มีเพียงโบสถ์นิกายออร์โธด็อกซ์บางแห่งเท่านั้นที่ยังคงมีการถือศีลอดนี้มาจนถึงปัจจุบัน วันสุดท้ายก่อนการถือศีลอดผู้คนยังคงสามารถเพลิดเพลินกับการรับประทานอาหารดีๆได้เหมือนช่วงเทศกาลคาร์นิวัล ด้วยเหตุนี้การฉลองเทศกาลคาร์นิวัลในแถบลุ่มแม่น้ำไรน์ได้ถือเอาวันนี้เป็นวันเริ่มต้นของงานเทศกาล อนึ่งตามประเพณีดั้งเดิมถือว่าวันนักบุญมาร์ตินเป็นวันถวายสิบลด ในสมัยก่อนผู้คนจะจ่ายภาษีโบสถ์ในรูปของผลผลิตจากธรรมชาติซึ่งก็รวมไปถึงห่านด้วย เนื่องจากสามารถจำกัดจำนวนการเลี้ยงสัตว์ก่อนช่วงฤดูหนาวที่กำลังจะมาเยือนได้ นอกจากนี้แล้ววันนี้ยังถือเป็นวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญาต่างๆไม่ว่าจะเป็นสัญญาเช่า สัญญาเงินกู้ หรือ ระยะเวลาการรับราชการทหาร ทุกวันนี้การกำหนดวันนักบุญมาร์ตินให้เป็นวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของสัญญาเช่าพื้นที่ยังคงเป็นที่นิยม เพราะตรงกับช่วงเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการทำการเกษตร ด้วยเหตุนี้จึงมีการเรียกวันนี้ว่าเป็นวันชำระดอกเบี้ยอีกด้วย

ประเพณี


ห่านมาร์ตินกับกะหล่ำม่วงหวานรับประทานคู่กับคเนิลเดล

การรับประทานห่านมาร์ตินเป็นประเพณีแบบดั้งเดิมที่นิยมกันมากในปัจจุบัน (ที่ประเทศออสเตรียเรียกว่า มาร์ตินี่กานส์ หรือ มาร์ตินี่กานส์เซอ) ทั้งนี้มีเรื่องเล่ามากมายเกี่ยวกับประเพณีซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับตำนานของนักบุญมาร์ตินทั้งสิ้น ตำนานแรกถูกเล่าไว้ว่าประชาชนจำนวนมากต่างพากันสรรเสริญท่านมาร์ตินให้ขึ้นเป็นอัครสังฆราช แม้สิ่งนี้จะขัดต่อฝ่ายสภาคริสตจักรและความต้องการของท่านเนื่องจากนิสัยการดำเนินชีวิตสันโดษ ท่านจึงไม่ใคร่ใส่ใจกับเรื่องที่จะได้รับแต่งตั้งเป็นอัครสังฆราชตำแน่งที่มีภาระหน้าที่มากมาย ท่านจึงไปซ่อนตัวอยู่ในเล้าห่าน แต่ทว่าฝูงห่านกลับตกใจและพากันส่งเสียงร้องดังจนทำให้ผู้คนหาท่านจนพบและได้รับการแต่งตั้งในที่สุด ตำนานที่สองเป็นเรื่องที่ชาวนาคนหนึ่งออกอุบายเพื่อให้นักบุญมาร์ตินออกมาจากที่ซ่อนตัว เมื่อเขาพบที่ซ่อนของท่านนักบุญจึงได้ขอร้องให้ท่านไปช่วยรักษาภรรยาที่ป่วยของเขา ท่านนักบุญเป็นผู้ชอบช่วยเหลือผู้อื่นจึงไม่ปฏิเสธพลางเก็บข้าวของของตนตามชาวนาคนนั้นกลับบ้านไป เป็นไปได้อย่างยิ่งว่าท่านนักบุญจะดูสกปรก มอมแมม เพราะท่านอาศัยอยู่ในเล้าห่านมาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว ตำนานที่สามมีอยู่ว่าในขณะที่อัครสังฆราชมาร์ตินได้นำสวดอยู่นั้นก็มีฝูงห่านเข้ามารบกวนโดยส่งเสียงดังไปทั่วโบสถ์ ดังนั้นฝูงห่านเหล่านี้จึงถูกจับแล้วนำไปทำอาหาร อย่างไรก็ตามมีเรื่องเล่าอีกเรื่องที่มีความเป็นไปได้มากกว่าเรื่องนี้คือ ในสมัยระบบศักดินาได้ถือเอาวันนี้เป็นวันที่ชาวนาจะต้องนำผลผลิตไปมอบให้แก่เจ้าของที่ดิน การมอบนี้เรียกว่า มาร์ตินโชสส์ (Martinsschoß) เป็นที่สังเกตุอย่างยิ่งว่าห่านกลายเป็นสัญลักษณ์ของงานเทศกาลนี้ไปโดยปริยายเพราะจากตำนานทั้งหลายที่กล่าวมานี้ล้วนมีห่านเกี่ยวข้องด้วยทั้งสิ้น การฉลองวันนักบุญมาร์ตินแบบดั้งเดิมนั้นมีทั้งการร้องเพลงสรรเสริญนักบุญและเต้นรำในยามเย็นจึงเกิดความคิดของการนำห่านมาเป็นอาหารประจำงานขึ้นโดยจะรับประทานกันในช่วงตอนเย็นของงานเทศกาล ในประเทศเยอรมนีนิยมรับประทานห่านกับกะหล่ำม่วงหวาน(Rotkohl) คู่กับ “เซมเมล-คเนิลเดล” (Semmelknödeln) แป้งต้มทรงกลมที่ทำจากขนมปังเซมเมล หรือ “คาร์ทอฟเฟิลเคิลส์เซ่น” (Kartoffelklößen) แป้งต้มทรงกลมที่ทำจากมันฝรั่ง

ขบวนแห่นักบุญมาร์ติน


ขบวนแห่นักบุญมาร์ตินที่เมือง ดึสส์แซลดอร์ฟ-อัวเดนบาร์ค (Düsseldorf-Urdenbach) ปีค.ศ.1948

ขบวนแห่นี้สามารถพบได้ทั่วไปในหลายภูมิภาคของประเทศเยอรมนี ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ หรือแม้แต่แถบทิโรลตอนใต้ (Südtirol)และซิเลเซียตอนเหนือ(Oberschlesien) ในงานเทศกาลนี้เด็กๆจะประดิษฐ์โคมไฟแล้วเดินถือไปตามถนน หมู่บ้าน และในเมือง โดยที่พวกเขาจะเดินตามคนที่แต่งกายเสมือนอัศวินโรมันบนหลังม้าและสวมเสื้อคลุมสีแดงซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของนักบุญมาร์ติน ที่เมืองบรีเจนซ์(Bregenz)ในประเทศออสเตรียจะเรียกประเพณีนี้ว่า การขี่ม้ามาร์ติน (Martinsritt) ส่วนใหญ่จะมีการแสดงตอนที่นักบุญมาร์ตินแบ่งเสื้อคลุมของท่านให้ชายขอทาน ระหว่างการเดินขบวนแห่ไปนั้นจะมีการร้องเพลงดั้งเดิมที่เกี่ยวกับนักบุญมาร์ตินประกอบไปด้วย โคมไฟที่เด็กๆถือนั้นส่วนใหญ่จะถูกประดิษฐ์ขึ้นก่อนงานเทศกาลโดยนักเรียนระดับอนุบาลและประถมศึกษาจะประดิษฐ์โคมไฟเหล่านี้ในชั่วโมงเรียน ในช่วงท้ายของงานเทศกาลนี้มักฉลองปิดท้ายด้วยกองไฟขนาดใหญ่ที่เรียกว่า “เพลิงมาร์ติน” (Martinsfeuer) ในหลายพื้นที่เด็กๆจะได้รับขนมปังรูปคน (Weckmann) ซึ่งทำมาจากแป้งขนมปังผสมลูกเกด ในขณะที่ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีจะเป็นคุ้กกี้รูปห่านชิ้นเล็กๆจากแป้งคุ้กกี้หรือแป้งขนมปัง หรือขนมปังเบรตเซล บางพื้นที่ในเขตแม่น้ำรัวร์ (Ruhrgebiet) และแถบเมือง เซาเวอร์ลันด์ (Sauerland) และภูมิภาคอื่นๆของประเทศเยอรมนีเด็กๆจะได้รับขนมปังเบรตเซลซึ่งทำมาจากแป้งขนมปังโรยด้วยเกล็ดน้ำตาล

ไฟล์:Sunte-Marten.jpg
เด็กๆในขบวนแห่นักบุญมาร์ติน

ขบวนแห่นักบุญมาร์ตินที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนีที่มีผู้ร่วมงานมากกว่า 4000 - 6000 คนจัดขึ้นที่เมืองวอร์มส์โฮกไฮม์(Worms-Hochheim), เมืองเคมเพ็มในเขตนีเดอร์ไรน์(Kempen am Niederrhein) และเมืองโบคอลท์(Bocholt) ปัจจุบันนี้บางพื้นที่จัดขบวนแห่งานเทศกาลในวันอื่นที่ใกล้เคียงกับวันงานเทศกาลจริงในกรณีที่มีเหตุจำเป็นและไม่สะดวกในการจัดงานให้ตรงกับวันนั้นได้ ตัวอย่างเช่นการจัดขบวนแห่ในบางพื้นที่ที่อาจมีเพียงผู้ที่รับบทเป็นนักบุญมาร์ตินเพียงคนเดียว อนึ่งประเพณีนี้ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ในกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาเยอรมันเท่านั้น แต่ชาวเยอรมันในต่างแดนอย่างที่กรุงสต๊อกโฮม ประเทศสวีเดนหรือที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ก็มีการจัดขบวนฉลองงานเทศกาลนี้ด้วย

  • ข้อมูลเพิ่มเติม: เทศกาลเรเบนลิคท์ Räbenlicht ประเพณีที่ใกล้เคียงของแถบพื้นที่ที่ใช้ภาษาเยอรมันในประเทศสวิตเซอร์แลนด์

การร้องเพลงนักบุญมาร์ติน


นักบุญมาร์ติน – การแสดงของขบวนแห่นักบุญมาร์ติน

หลังจากการเดินขบวนแห่หรือตามกำหนดการของงานในหลายพื้นที่จะมีการร้องเพลงสรรเสริญนักบุญมาร์ติน (หรือเพลงนักบุญมาร์ตินี่) โดยที่เด็กๆจะร้องเพลงและเดินถือโคมไฟหรือโคมไฟกระดาษไปตามบ้านแต่ละหลังเพื่อขอขนมหวาน ขนมปัง ผลไม้ ฯลฯ นอกจากนี้แล้วยังมีกิจกรรมในท้องที่ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับประเพณีนี้ เช่นในแถบลุ่มแม่น้ำไรน์ (Rheinland) มีกิจกรรมการร้องเพลงเรี่ยไรหาเงินเพื่อการกุศลโดยมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปอย่าง เคิทเท่น (Kötten) ชเนอร์เซ่น (Schnörzen) ดอทเซ่น(Dotzen) หรือ กริบเช่น(Gribschen) ส่วนในบริเวณฟรีเซียนตะวันออก (Ostfriesland) หรือในพื้นที่อื่นๆของชาวคริสต์นิกายโปรเตสแตนท์ก็มีประเพณีที่คล้ายคลึงกันโดยจัดขึ้นวันที่ 10 พฤศจิกายนเพียงแต่เป็นการระลึกถึงมาร์ติน ลูเทอร์แทนนักบุญมาร์ติน ในงานเทศกาลนี้มีการละเล่น “ค้อนทุบ” (Hammer-Hüt) ชื่อนี้มีที่มาจากลักษณะการร้องเพลงโดยที่ผู้ร้องจะใช้ค้อนทุบลงบนแผ่นไม้ที่เตรียมมาประกอบจังหวะ การละเล่นนี้พบได้ในเขตเฟียลันเดอ(Vierlande)ของนครรัฐฮัมบูร์ก

พิธีเสกไวน์ในวันนักบุญมาร์ติน


พิธีนี้นิยมปฏิบัติกันโดยเฉพาะในประเทศออสเตรีย บาทหลวงจะเสกไวน์ที่ผลิตได้ในปีนี้หรือที่เรียกว่า “ฮอยริเกอร์” (Heuriger) ภายหลังพิธีกรรมนี้ซึ่งเรียกว่า “การสรรเสริญนักบุญมาร์ตินี่” (Martiniloben) เจ้าของไร่องุ่นจะแจกจ่ายไวน์นี้ให้ผู้ร่วมงานชิมฟรี

ชายใจบุญในชุดขนสัตว์


ในบางพื้นที่ทางตอนใต้ของประเทศเยอรมนีที่มีชาวคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์อาศัยอยู่มาก อาทิเช่น เขตโดเนา-รีส (Donau-Ries) , แถบบนภูเขาชวาเบียน(Schwäbische Alb) และ แถบบาวาเรียตอนกลาง (Mittelfranken) ในวันนักบุญ มาร์ตินจะมีประเพณีที่ชายแต่งกายด้วยเสื้อคลุมขนสัตว์แจกถั่ววอลนัตให้เด็กๆ