ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
Viewwwwww (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 46 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 13 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{สั้นมาก}}
{{แหล่งอ้างอิงปฐมภูมิ}}
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
{{Infobox royalty
| ภาพ = ไฟล์:หม่อมเจ้าดวงจิตร.JPG
| พระนาม = หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์
| image = หม่อมเจ้าดวงจิตร.jpg
| ฐานันดร = หม่อมเจ้า
| title = หม่อมเจ้า ชั้น 4
| วันประสูติ = {{วันเกิด|2451|9|26}}<br>[[กรุงเทพมหานคร]] [[ไทย]]
| birth_date = {{วันเกิด|2451|9|26}}
| วันสิ้นชีพิตักษัย = {{วันตายและอายุ|2548|09|6|2451|9|26}}<br>[[กรุงเทพมหานคร]] [[ไทย]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2548|9|6|2451|9|26}}
| death_style = สิ้นชีพตักษัย
| พระอิสริยยศ =
| พระบิดา = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]
| father1 = [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]
| พระมารดา = [[หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ]]
| mother1 = [[หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์]]
| dynasty = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
| พระราชสวามี =
|ราชสกุล=จิตรพงศ์}}
| พระสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี|จักรี]]
}}


'''หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์''' ([[26 กันยายน]] [[พ.ศ. 2451]] - [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2548]]) เป็นพระธิดาลำดับที่ 6 ใน [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] ลำดับที่ 2 อันประสูติแต่[[หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ]] มีพระเชษฐภคินี พระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมพระมารดา 4 พระองค์ คือ <ref>{{อ้างหนังสือ
'''หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์''' (26 กันยายน พ.ศ. 2451 6 กันยายน พ.ศ. 2548) เป็นพระธิดาใน [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์|พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] กับ[[หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์]] ป.จ.

==พระประวัติ==

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ มีพระนามลำลองว่า '''ท่านหญิงอาม''' เป็นพระธิดาลำดับที่ 6 ใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] เป็นลำดับที่ 2 อันประสูติแต่[[หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์]] (ราชสกุลเดิม งอนรถ) ประสูติเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2451 ในปลายรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ประสูติที่ตำหนักเก้าห้องในบริเวณ[[วังท่าพระ]] [[ถนนหน้าพระลาน]] ซึ่งเป็นที่ประทับของพระบิดาในขณะนั้น หม่อมเจ้าดวงจิตรมีโสทรภคินีและโสทรอนุชารวม 4 องค์ คือ<ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]
|ผู้แต่ง=[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]]
|ชื่อหนังสือ=มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา
|ชื่อหนังสือ=มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
}}
}}
</ref>
</ref>
* [[หม่อมเจ้าหญิงประโลมจิตร จิตรพงศ์]] (พ.ศ. 2448 - พ.ศ. 2513) เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าตระหนักนิธิผล ไชยันต์]] (พ.ศ. 2439 - พ.ศ. 2473)
* [[หม่อมเจ้าหญิงประโลมจิตร ไชยันต์|หม่อมเจ้าประโลมจิตร ไชยันต์]] เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าตระนักนิธิผล ไชยันต์]]
* [[หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์]] (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2539) สมรสกับหม่อมจักลิน ดูบัวส์
* [[หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์]] เสกสมรสกับหม่อมจักลิน (สกุลเดิม ดูบัวส์)
* [[หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์]] (พ.ศ. 2457 - พ.ศ. 2537) เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ ดิศกุล]] (พ.ศ. 2458 - พ.ศ. 2544)
* [[หม่อมเจ้าเพลารถ จิตรพงศ์]] เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้ากุมารีเฉลิมลักษณ์ จิตรพงศ์]] (ราชสกุลเดิม ดิศกุล)
* [[หม่อมเจ้าหญิงกรณิกา จิตรพงศ์]] (พ.ศ. 2459 - 6 พฤษภาคม 2558)
* [[หม่อมเจ้ากรณิกา จิตรพงศ์]]

หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ ประสูติที่ตำหนักเก้าห้องในบริเวณวังท่าพระ ถนนหน้าพระลาน ซึ่งเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ในขณะนั้น
==การศึกษา==
หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ ทรงศึกษาในระยะแรกที่[[วังท่าพระ]] โดยหลวงสำเร็จวรรณกิจเป็นผู้ถวายการสอนพระโอรสธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] ต่อมาทรงเข้าศึกษาที่[[โรงเรียนสตรีวิทยา]] เมื่อพระบิดาย้ายไปประทับที่[[ตำหนักปลายเนิน]] เป็นการถาวร หม่อมเจ้าดวงจิตรจึงทรงย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนเซนต์แมรี่ เอส.พี.จี. (Society for the Propagation of the Gospel) [[ถนนราชดำริ]]

==การทรงงาน==
ระหว่างที่หม่อมเจ้าดวงจิตรทรงศึกษาที่โรงเรียนเอสพีจีแมรี พระบิดาทรงกลับเข้ารับราชการในตำแหน่งอภิรัฐมนตรี มีงานราชการเพิ่มมากขึ้น หม่อมเจ้าดวงจิตรจึงทรงลาออกจากโรงเรียน มาเป็นเลขานุการิณีในพระบิดาอย่างเต็มเวลา


หม่อมเจ้าดวงจิตรมักตามเสด็จพระบิดาไปในงานพระราชพิธีต่าง ๆ และยังตามเสด็จเวลาไปทรงงานราชการด้วย [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]มีปัญหาเรื่องพระกรรณไม่ดี หม่อมเจ้าดวงจิตรต้องช่วยทูลเรื่องที่พระบิดาไม่ทรงได้ยินถนัดถวายเพิ่มเติม หม่อมเจ้าดวงจิตรจึงรู้จักข้าราชการ[[กรมศิลปากร]]ทุกคนในสมัยนั้น สามารถติดตามงานต่าง ๆ ถวายพระบิดาได้
การศึกษา
หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ ทรงเล่าเรียนในระยะแรกที่วังท่าพระ หลวงสำเร็จวรรณกิจเป็นผู้หนึ่งที่ได้รับเชิญมาสอนโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ หลังจากนั้นทรงเข้าเป็นนักเรียนที่โรงเรียนสตรีวิทยา
ต่อมาเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ย้ายที่ประทับไปประทับที่ตำหนักปลายเนิน คลองเตยเป็นการถาวร หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์จึงทรงย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนเอสพีจีแมรี ถนนราชดำริ


ในการพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียร[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้า พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 และ 5 เชิญทั้งเครื่องเฉลิมพระราชมณเฑียร และเครื่องราชูปโภค ทั้งหมด 16 องค์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยืนกลาง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงยืนเบื้องขวาพระองค์ แวดล้อมด้วยพระราชนัดดา ในรัชกาลที่ 4 และ 5 ทรงเชิญเครื่องเฉลิมพระราชมณเฑียร และเครื่องราชูปโภค โดยหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 เชิญพานพระศรี
งาน
ระหว่างที่ทรงศึกษาที่โรงเรียนเอสพีจีแมรี สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงกลับเข้ารับราชการในตำแหน่งอภิรัฐมนตรี ทรงมีงานราชการเพิ่มมากขึ้น หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ จึงทรงลาออกจากโรงเรียน มาเป็นเลขานุการในพระองค์เต็มเวลา


นอกจากนี้ในคราวที่เกิดเหตุการณ์คณะทหารออกปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 เจ้านายสตรีบางพระองค์ก็ถูกนำไปเป็น “ตัวประกัน” ด้วยเช่นกัน เช่น [[หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร]] พระชายาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ฯ [[หม่อมเจ้าพัฒนายุ ดิศกุล]] พระธิดาในสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และ'''หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์''' พระธิดาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ซึ่งล้วนเข้าไปอยู่ใน[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]เพื่อดูแลพระสวามีและพระบิดาที่ถูกนำไปเป็นตัวประกัน<ref>[http://www.siammanussati.com/%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3-2/ การทรงงาน]</ref>
หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ ตามเสด็จสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ไปในงานพระราชพิธีต่างๆ และยังตามเสด็จเวลาไปทรงงานราชการด้วย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงมีปัญหาเรื่องพระกรรณไม่ดี หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตรต้องทรงช่วยทูลเรื่องที่ไม่ทรงได้ยินถนัดเพิ่มเติมถวาย หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตรจึงทรงรู้จักข้าราชการกรมศิลปากรทุกคนในสมัยนั้น สามารถติดตามงานต่างๆถวายได้
[[ไฟล์:ภาพเมื่อครั้งพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรในรัชกาลที่ 7.webp|thumb|หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 เชิญพานพระศรี แถวหลังจากซ้ายไปขวา ลำดับที่ 9]]


งานอดิเรก
==งานอดิเรก==
หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ ใช้เวลาว่างทรงอ่านหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอยู่เสมอ ทรงเริ่มงานประพันธ์ด้วยการแปลตำรากับข้าวจากหนังสือของมิสซิสบีตันไปลงพิมพ์ในหนังสือไทยเกษมและหนังสือนารีนาถ โปรดแต่งบทความและบทกลอนให้พรเป็นงานอดิเรก และทรงนิพนธ์บทประพันธ์เพื่อใช้ในงานนักเรียนเก่าอังกฤษและงานนักเรียนเก่าอเมริกัน
หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ โปรดใช้เวลาว่างในการอ่านหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอยู่เสมอ ทรงเริ่มงานประพันธ์ด้วยการแปลตำรากับข้าวจากหนังสือของมิสซิสบีตันไปลงพิมพ์ในหนังสือไทยเกษมและหนังสือนารีนาถ โปรดประพันธ์บทความและบทกลอนให้พรเป็นงานอดิเรก และนิพนธ์บทประพันธ์เพื่อใช้ในงานนักเรียนเก่าอังกฤษและงานนักเรียนเก่าอเมริกัน


งานส่วนพระองค์เรื่องสำคัญที่ทรงทำคือ
งานนิพนธ์เรื่องสำคัญที่นิพนธ์ขึ้นได้แก่
หนังสือ"สาส์นสมเด็จ" หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตรทรงพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์จากต้นร่างลายพระหัตถ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
*หนังสือ '''"สาส์นสมเด็จ"''' หม่อมเจ้าดวงจิตรทรงพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์จากต้นร่างลายพระหัตถ์ของ[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]


หนังสือ"ป้าป้อนหลาน" โดยเบื้องต้นทรงแต่งขึ้นเพื่อให้ความรู้แก่หลานๆ โดยได้พิมพ์ครั้งแรกเมื่องานฉลองพระชันษา 5 รอบเมื่อปี2511 และได้ทรงนิพทธ์เพิ่มอีก 2 ชุด โดยได้มีการรวบรวมทั้งสามชุดมาพิมพ์เพื่อแจกงานฉลองพระชันษา 90 ปี และสุดท้ายได้นำมาพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพในปี 2550 หนังสือเล่มนี้กระทรวงศึกษาธิการได้ถวายถ้วยรางวัลดีเด่นด้านการใช้ภาษาไทย
*หนังสือ '''"ป้าป้อนหลาน"''' เบื้องต้นนิพนธ์ขึ้นเพื่อประทานความรู้แก่หลาน ๆ พิมพ์ครั้งแรกเมื่องานฉลองชันษา 5 รอบ เมื่อปี พ.ศ. 2511 และได้นิพนธ์เพิ่มอีกสองชุด จากนั้นได้รวบรวมทั้งสามชุดมาพิมพ์ประทานในงานฉลองชันษา 90 ปี เมื่อปี พ.ศ. 2541 และสุดท้ายได้นำมาพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพในปี พ.ศ. 2550 โดยหนังสือเล่มนี้[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ได้ถวายถ้วยรางวัลดีเด่นด้านการใช้ภาษาไทย
*หนังสือ '''"ตาลปัตร ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์"''' พระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าดวงจิตร  จิตรพงศ์ กล่าวถึงเรื่องตาลปัตรกับกฎราชสำนักว่า ''"มีประเพณีมาแต่ดั้งเดิมว่า พระราชาคณะซึ่งได้รับพระราชทานตาลปัตรแฉกเป็นพัดยศเมื่อได้รับนิมนต์ ให้เข้าไปเทศน์ถวาย จะต้องนำตาลปัตรเข้าไป 2 เล่ม คือ พัดแฉก ที่ได้รับพระราชทานเล่มหนึ่งกับพัดรองอีกเล่มหนึ่งในขณะที่ขึ้นไปบนธรรมาสน์นั้น จะถือพัดแฉกไม่ได้ ต้องถือพัดรองขึ้นไปถวายศีลแทนต่อเมื่อเทศน์แล้ว กลับลงมานั่งยังอาสน์จะถวายอนุโมทนาถวายอดิเรก จึงให้ใช้พัดยศ ประเพณีนี้ในปัจจุบันมีระบุไว้ในกฎพระราชสำนักว่าพัดยศนั้น พระสงฆ์จะนำมาใช้ได้ เฉพาะงานพระราชพิธี ที่มีการถวายอนุโมทนาถวายอดิเรกเท่านั้น"'' ตาลปัตร เป็นหนังสือที่รวบรวมความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับตาลปัตรและพัดรองฝีพระหัตถ์[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] ที่ทรงออกแบบสำหรับใช้ในงานพระราชพิธีและงานพิธีของผู้มีบรรดาศักดิ์ตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ผลงานฝีพระหัตถ์เหล่านี้นับเป็นแบบอย่างของงานประณีตศิลป์ชั้นเยี่ยมประเภทหนึ่งของสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในงานพระราชทานเพลิงศพ[[หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์]] พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยหม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ เป็นผู้รวบรวม และ[[หม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์]] ถ่ายภาพ
*พระนิพนธ์เรื่อง '''"สมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยานิรศรานุวัดติวงศ์ ผู้ได้รับพระราชทานสร้อยพระนามว่า''' '''"สังคีตวาทิตวิธีวิจารณ์""''' พิมพ์ในหนังสือครบรอบ 100 ปี เพลง[[เขมรไทรโยค]] วันที่ 20 พฤษภาคม พุทธศักราช 2531 ถึงวันที่ 20 กันยายน พุทธศักราช 2531 ที่ระลึกในวโรกาสที่[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธาน ในงานเฉลิมฉลอง 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค ณ [[ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]] วันจันทร์ ที่ 19 กันยายน 2531 หน้า 74-82


==สิ้นชีพตักษัย==
หม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ [[6 กันยายน]] [[พ.ศ. 2548]] พระชันษา 96 ปี
หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2548 สิริชันษา 96 ปี ในการนี้[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พุทธศักราช 2550


== เครื่องราชอิสิรยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ท.จ.ว.|2527}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2527/D/067/7.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์]ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 101 ตอนที่ 67 วันที่ 24 พฤษภาคม 2527</ref>
{{ท.จ.ว.ฝ่ายใน|ปี=2527}}<ref>{{cite journal| url = http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2527/D/067/7.PDF | title = แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ประจำปี 2527 | journal = ราชกิจจานุเบกษา | volume = เล่ม 101 | issue = ตอนที่ 67 ฉบับพิเศษ | date = 24 พฤษภาคม 2527 | pages = 9}}</ref>
{{ต..|2498}}
{{ต..|ปี=2501}}
{{ต..|2507}}
{{ต..|ปี=2498}}
{{ร.ฉ.พ.|ปี=2475}}
{{ช.ร.เอเชียบูรพา|ปี=2487}}
{{ร.ร.ศ.7|ปี=2469}}
* พ.ศ. 2469 - เสมาบรมราชาภิเษกทอง รัชกาลที่ 7<ref>{{cite journal| journal = ราชกิจจานุเบกษา | url = http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2469/D/3718.PDF | title = ประกาศกระทรวงวัง เรื่อง การประดับเสมาบรมราชาภิเษก | volume = เล่ม 43 | pages = หน้า 3719 | date = 16 มกราคม 2470}}</ref>
{{ร.ร.ศ.9|ปี=2493}}


== พงศาวลี ==
== พงศาวลี ==
{{ahnentafel top|width=100%|พงศาวลีของหม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์}}
{{ahnentafel top|width=100%|พงศาวลีของ{{PAGENAME}}}}
<center>{{ahnentafel-compact5
<center>{{ahnentafel-compact5
|style=font-size: 90%; line-height: 110%;
|style=font-size: 90%; line-height: 110%;
บรรทัด 70: บรรทัด 81:
|boxstyle_5=background-color: #9fe;
|boxstyle_5=background-color: #9fe;
|1= 1. '''{{PAGENAME}}'''
|1= 1. '''{{PAGENAME}}'''
|2= 2. [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]
|2= 2. [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]]
|3= 3. [[หม่อมราชวงศ์โต งอนรถ]]
|3= 3. [[หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์]]
|4= 4. [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|4= 4. [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|5= 5. [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย]]
|5= 5. [[พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณราย]]
บรรทัด 78: บรรทัด 89:
|8= 8. [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
|8= 8. [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]
|9= 9. [[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]]
|9= 9. [[สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี]]
|10= 10. [[สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์]]
|10= 10. [[สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์]]
|11= 11. หม่อมกิ่ม ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
|11= 11. หม่อมกิ่ม ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
|12= 12. [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้างอนรถ]]
|12= 12. [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้างอนรถ]]
|13= 13. หม่อมรอด งอนรถ ณ อยุธยา
|13= 13.
|14= 14.
|14=
|15= 15.
|15=
|16= 16. [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]
|16= 16. [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
|17= 17. [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]
|17= 17. [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]
|18= 18. เงิน แซ่ตัน
|18= 18. [[เงิน แซ่ตัน]]
|19= 19. [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์]]
|19= 19. [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์]]
|20= 20. (=24.) [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|20= 20. (=24.) [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|21= 21. เจ้าจอมมารดาทรัพย์
|21= 21. [[เจ้าจอมมารดาทรัพย์ ในรัชกาลที่ 3]]
|22= 22. จีนก๊วง แซ่จิ๋ว
|22= 22. จีนก๊วง แซ่จิ๋ว
|23= 23. แตง
|23= 23. แตง
|24= 24. (=20.) [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|24= 24. (=20.) [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|25= 25. เจ้าจอมมารดาจาด
|25= 25. เจ้าจอมมารดาจาด ในรัชกาลที่ 3
|26= 26.
|26=
|27= 27.
|27=
|28=
|28=
}}
}}
บรรทัด 105: บรรทัด 116:


{{เรียงลำดับ|ดวงจิตร จิตรพงศ์}}
{{เรียงลำดับ|ดวงจิตร จิตรพงศ์}}
{{ประสูติปี|2451}}
{{อายุขัย|2451|2548}}
{{ตายปี|2548}}
[[หมวดหมู่:ราชสกุลจิตรพงศ์]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลจิตรพงศ์]]
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้า]]
[[หมวดหมู่:หม่อมเจ้าหญิง]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายใน)]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ช.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ช.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ม.]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเหรียญรัตนาภรณ์ อ.ป.ร.5]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ อ.ป.ร.5]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเหรียญรัตนาภรณ์ ป.ป.ร.2]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเหรียญรัตนาภรณ์ ป.ป.ร.2‎]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลงอนรถ]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลงอนรถ]]
{{โครง}}
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:43, 7 พฤษภาคม 2567

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์
หม่อมเจ้า ชั้น 4
ประสูติ26 กันยายน พ.ศ. 2451
สิ้นชีพตักษัย6 กันยายน พ.ศ. 2548 (96 ปี)
ราชสกุลจิตรพงศ์
ราชวงศ์จักรี
พระบิดาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
พระมารดาหม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ (26 กันยายน พ.ศ. 2451 – 6 กันยายน พ.ศ. 2548) เป็นพระธิดาใน พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ กับหม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ ป.จ.

พระประวัติ[แก้]

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ มีพระนามลำลองว่า ท่านหญิงอาม เป็นพระธิดาลำดับที่ 6 ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นลำดับที่ 2 อันประสูติแต่หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ (ราชสกุลเดิม งอนรถ) ประสูติเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2451 ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติที่ตำหนักเก้าห้องในบริเวณวังท่าพระ ถนนหน้าพระลาน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระบิดาในขณะนั้น หม่อมเจ้าดวงจิตรมีโสทรภคินีและโสทรอนุชารวม 4 องค์ คือ[1]

การศึกษา[แก้]

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ ทรงศึกษาในระยะแรกที่วังท่าพระ โดยหลวงสำเร็จวรรณกิจเป็นผู้ถวายการสอนพระโอรสธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ต่อมาทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนสตรีวิทยา เมื่อพระบิดาย้ายไปประทับที่ตำหนักปลายเนิน เป็นการถาวร หม่อมเจ้าดวงจิตรจึงทรงย้ายไปศึกษาที่โรงเรียนเซนต์แมรี่ เอส.พี.จี. (Society for the Propagation of the Gospel) ถนนราชดำริ

การทรงงาน[แก้]

ระหว่างที่หม่อมเจ้าดวงจิตรทรงศึกษาที่โรงเรียนเอสพีจีแมรี พระบิดาทรงกลับเข้ารับราชการในตำแหน่งอภิรัฐมนตรี มีงานราชการเพิ่มมากขึ้น หม่อมเจ้าดวงจิตรจึงทรงลาออกจากโรงเรียน มาเป็นเลขานุการิณีในพระบิดาอย่างเต็มเวลา

หม่อมเจ้าดวงจิตรมักตามเสด็จพระบิดาไปในงานพระราชพิธีต่าง ๆ และยังตามเสด็จเวลาไปทรงงานราชการด้วย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์มีปัญหาเรื่องพระกรรณไม่ดี หม่อมเจ้าดวงจิตรต้องช่วยทูลเรื่องที่พระบิดาไม่ทรงได้ยินถนัดถวายเพิ่มเติม หม่อมเจ้าดวงจิตรจึงรู้จักข้าราชการกรมศิลปากรทุกคนในสมัยนั้น สามารถติดตามงานต่าง ๆ ถวายพระบิดาได้

ในการพระราชพิธีเฉลิมพระราชมณเฑียรพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 โปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้า พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 และ 5 เชิญทั้งเครื่องเฉลิมพระราชมณเฑียร และเครื่องราชูปโภค ทั้งหมด 16 องค์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงยืนกลาง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีทรงยืนเบื้องขวาพระองค์ แวดล้อมด้วยพระราชนัดดา ในรัชกาลที่ 4 และ 5 ทรงเชิญเครื่องเฉลิมพระราชมณเฑียร และเครื่องราชูปโภค โดยหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 เชิญพานพระศรี

นอกจากนี้ในคราวที่เกิดเหตุการณ์คณะทหารออกปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 เจ้านายสตรีบางพระองค์ก็ถูกนำไปเป็น “ตัวประกัน” ด้วยเช่นกัน เช่น หม่อมเจ้าประสงค์สม บริพัตร พระชายาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ฯ หม่อมเจ้าพัฒนายุ ดิศกุล พระธิดาในสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และหม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ พระธิดาในสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ซึ่งล้วนเข้าไปอยู่ในพระที่นั่งอนันตสมาคมเพื่อดูแลพระสวามีและพระบิดาที่ถูกนำไปเป็นตัวประกัน[2]

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ พระราชนัดดาในรัชกาลที่ 4 เชิญพานพระศรี แถวหลังจากซ้ายไปขวา ลำดับที่ 9

งานอดิเรก[แก้]

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ โปรดใช้เวลาว่างในการอ่านหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษอยู่เสมอ ทรงเริ่มงานประพันธ์ด้วยการแปลตำรากับข้าวจากหนังสือของมิสซิสบีตันไปลงพิมพ์ในหนังสือไทยเกษมและหนังสือนารีนาถ โปรดประพันธ์บทความและบทกลอนให้พรเป็นงานอดิเรก และนิพนธ์บทประพันธ์เพื่อใช้ในงานนักเรียนเก่าอังกฤษและงานนักเรียนเก่าอเมริกัน

งานนิพนธ์เรื่องสำคัญที่นิพนธ์ขึ้นได้แก่

  • หนังสือ "ป้าป้อนหลาน" เบื้องต้นนิพนธ์ขึ้นเพื่อประทานความรู้แก่หลาน ๆ พิมพ์ครั้งแรกเมื่องานฉลองชันษา 5 รอบ เมื่อปี พ.ศ. 2511 และได้นิพนธ์เพิ่มอีกสองชุด จากนั้นได้รวบรวมทั้งสามชุดมาพิมพ์ประทานในงานฉลองชันษา 90 ปี เมื่อปี พ.ศ. 2541 และสุดท้ายได้นำมาพิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพในปี พ.ศ. 2550 โดยหนังสือเล่มนี้กระทรวงศึกษาธิการได้ถวายถ้วยรางวัลดีเด่นด้านการใช้ภาษาไทย
  • หนังสือ "ตาลปัตร ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์" พระนิพนธ์ของหม่อมเจ้าดวงจิตร  จิตรพงศ์ กล่าวถึงเรื่องตาลปัตรกับกฎราชสำนักว่า "มีประเพณีมาแต่ดั้งเดิมว่า พระราชาคณะซึ่งได้รับพระราชทานตาลปัตรแฉกเป็นพัดยศเมื่อได้รับนิมนต์ ให้เข้าไปเทศน์ถวาย จะต้องนำตาลปัตรเข้าไป 2 เล่ม คือ พัดแฉก ที่ได้รับพระราชทานเล่มหนึ่งกับพัดรองอีกเล่มหนึ่งในขณะที่ขึ้นไปบนธรรมาสน์นั้น จะถือพัดแฉกไม่ได้ ต้องถือพัดรองขึ้นไปถวายศีลแทนต่อเมื่อเทศน์แล้ว กลับลงมานั่งยังอาสน์จะถวายอนุโมทนาถวายอดิเรก จึงให้ใช้พัดยศ ประเพณีนี้ในปัจจุบันมีระบุไว้ในกฎพระราชสำนักว่าพัดยศนั้น พระสงฆ์จะนำมาใช้ได้ เฉพาะงานพระราชพิธี ที่มีการถวายอนุโมทนาถวายอดิเรกเท่านั้น" ตาลปัตร เป็นหนังสือที่รวบรวมความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับตาลปัตรและพัดรองฝีพระหัตถ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ที่ทรงออกแบบสำหรับใช้ในงานพระราชพิธีและงานพิธีของผู้มีบรรดาศักดิ์ตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ผลงานฝีพระหัตถ์เหล่านี้นับเป็นแบบอย่างของงานประณีตศิลป์ชั้นเยี่ยมประเภทหนึ่งของสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ หนังสือเล่มนี้ตีพิมพ์ครั้งแรกในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ พระชายาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยหม่อมเจ้าหญิงดวงจิตร จิตรพงศ์ เป็นผู้รวบรวม และหม่อมเจ้ายาใจ จิตรพงศ์ ถ่ายภาพ
  • พระนิพนธ์เรื่อง "สมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยานิรศรานุวัดติวงศ์ ผู้ได้รับพระราชทานสร้อยพระนามว่า "สังคีตวาทิตวิธีวิจารณ์"" พิมพ์ในหนังสือครบรอบ 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค วันที่ 20 พฤษภาคม พุทธศักราช 2531 ถึงวันที่ 20 กันยายน พุทธศักราช 2531 ที่ระลึกในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธาน ในงานเฉลิมฉลอง 100 ปี เพลงเขมรไทรโยค ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย วันจันทร์ ที่ 19 กันยายน 2531 หน้า 74-82

สิ้นชีพตักษัย[แก้]

หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2548 สิริชันษา 96 ปี ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าดวงจิตร จิตรพงศ์ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พุทธศักราช 2550

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

พงศาวลี[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์มหามกุฎราชสันตติวงศ์ พระนามพระราชโอรสธิดา พระราชนัดดา. กรุงเทพ : อมรินทร์พริ้นติ้ง, พ.ศ. 2547. หน้า หน้าที่. ISBN 974-272-911-5
  2. การทรงงาน
  3. "แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ประจำปี 2527" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 101 (ตอนที่ 67ง ฉบับพิเศษ): 9. 24 พฤษภาคม 2527.
  4. "ประกาศกระทรวงวัง เรื่อง การประดับเสมาบรมราชาภิเษก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 43: หน้า 3719. 16 มกราคม 2470.