ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยามา (สัตว์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
Robot: eo:Lamo is a good article
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 47 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 26 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{for|นักบวชในศาสนาพุทธนิกายวัชรยานแบบทิเบต|ลามะ}}
{{Taxobox
{{Taxobox
| name = ยามา
| name = ยามา
บรรทัด 4: บรรทัด 5:
| image = Llama lying down.jpg
| image = Llama lying down.jpg
| image_width = 250px
| image_width = 250px
| image_caption = ยามากำลังนอนราบอยู่
| image_caption = ยามาขณะนอนราบอยู่
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 15: บรรทัด 16:
| binomial_authority = ([[Carl Linnaeus|Linnaeus]], [[10th edition of Systema Naturae|1758]])
| binomial_authority = ([[Carl Linnaeus|Linnaeus]], [[10th edition of Systema Naturae|1758]])
}}
}}
[[ไฟล์:Llama in Thai Zoo.jpg|thumb|250px|การจัดแสดงยามาในสวนสัตว์ไทย]]
'''ยามา'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. "[http://www.royin.go.th/upload/246/FileUpload/2378_5395.pdf หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาสเปน]." ใน '''หลักเกณฑ์การทับศัพท์ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ ภาษามลายู ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.''' กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2535, หน้า 64.</ref> หรือ '''ลามา'''<ref>{{cite web|date=ม.ป.ป.|title=สารานุกรมสัตว์ : ลามา|url=http://www.zoothailand.org/index.php/th/-animal-encyclopedia/2009-11-08-22-26-17/item/162-%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B2|url-status=live|publisher=[[องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์|องค์การสวนสัตว์]]|accessdate=28 พฤษภาคม 2556}}{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021|bot=InternetArchiveBot|fix-attempted=yes}}</ref> ({{lang-es|llama}},<ref>Real Academia Española. '''Diccionario de la lengua española - 22.ª edición.''' Madrid: Espasa-Calpe, 2001, pág. 941.</ref><ref>Collins Spanish-English Dictionary. "llama 1." [Online]. Available: [http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true] [n.d.]. Retrieved September 1, 2012.</ref> {{IPA-es|ˈʎama ~ ˈʝama|pron}}; {{lang-qu|llama}}, <small>เสียงอ่าน:</small> {{IPA|/ˈʎama/}};<ref>UCLA Department of Linguistics. "The UCLA Phonetics Lab Archive: Word List for Quechua, South Bolivian (Cochabamba dialect) 1983-01." [Online]. Available: [http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html] 2007. Retrieved September 1, 2012.</ref> {{lang-en|llama}}, {{IPA-en|ˈjɑːmə, ˈlɑːmə|pron}};<ref>Jones, Daniel. Edited by Roach, Peter; Setter, Jane; and Esling, John. '''Cambridge English Pronouncing Dictionary 18th edition.''' Cambridge: Cambridge University Press, 2011, p. 292.</ref> {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Lama glama}}) เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]ใน[[วงศ์อูฐ]] (camelid) ของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] ซึ่งเป็นรู้จักกันอย่างแพร่หลายใน[[วัฒนธรรมแอนดีส|วัฒนธรรมของชาวแอนดีส]]ตั้งแต่สมัยก่อนการเข้ามาของชาวสเปน


== ถิ่นกำเนิด ==
'''ยามา''' ({{lang-es|llama}},<ref>Real Academia Española. '''Diccionario de la lengua española - 22.ª edición.''' Madrid: Espasa-Calpe, 2001, pág. 941.</ref><ref>Collins Spanish-English Dictionary. "llama 1." [Online]. Available: [http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true] [n.d.]. Retrieved September 1, 2012.</ref> {{IPA-es|ˈʎama ~ ˈʝama|pron}}; {{lang-qu|llama}}, <small>เสียงอ่าน:</small> {{IPA|/ˈʎama/}};<ref>UCLA Department of Linguistics. "The UCLA Phonetics Lab Archive: Word List for Quechua, South Bolivian (Cochabamba dialect) 1983-01." [Online]. Available: [http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html] 2007. Retrieved September 1, 2012.</ref> {{lang-en|llama}}, {{IPA-en|ˈjɑːmə, ˈlɑːmə|pron}};<ref>Jones, Daniel. Edited by Roach, Peter; Hartman, James; and Setter, Jane. '''Cambridge English Pronouncing Dictionary 17th edition.''' Cambridge: Cambridge University Press, 2006, p. 302.</ref> {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Lama glama}}) เป็นสัตว์เลี้ยงในตระกูล[[อูฐ]] (camelid) ของ[[ทวีปอเมริกาใต้]] ซึ่งเป็นรู้จักกันอย่างแพร่หลายใน[[วัฒนธรรมแอนดีส|วัฒนธรรมของชาวแอนดีส]]ตั้งแต่สมัยก่อนการเข้ามาของชาวสเปน
ยามามีต้นกำเนิดจากที่ราบตอนกลางของ[[อเมริกาเหนือ]]ในช่วง 40 ล้านปีที่ผ่านมา แล้วพวกมันก็ได้อพยพไปยัง[[อเมริกาใต้]]เมื่อประมาณ 3 ล้านปีที่ผ่านมา เมื่อถึงช่วงปลาย[[ยุคน้ำแข็ง]] (10,000-12,000 ปีก่อน) สัตว์ตระกูล[[อูฐ]]ก็สูญพันธุ์ไปจากอเมริกาเหนือแล้ว<ref name="OK State"/> ณ ค.ศ. 2007 มียามาและ[[อัลปากา]]กว่า 7 ล้านตัวในอเมริกาใต้ และเนื่องจากการนำเข้าจากอเมริกาใต้ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ทุกวันนี้จึงมียามากว่า 158,000 ตัว รวมถึงอัลปากาอีกกว่า 100,000 ตัวใน[[สหรัฐอเมริกา]]และ[[แคนาดา]]<ref name="Numbers">
{{cite web
|url=http://www.scla.us/llamafacts.html
|author=South Central Llama Association
|title=Llama Facts
|date=2009-01-22}}</ref>


== ชื่อในภาษาอื่น ==
ส่วนสูงในช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ระหว่าง 1.70 เมตร (5.5 ฟุต) ถึง 1.80 เมตร (6 ฟุต) โดยวัดจากส่วนบนสุดของหัว พวกมันมีน้ำหนักตัวอยู่ระหว่าง 130-200 กิโลกรัม (280-450 ปอนด์) ในช่วงแรกเกิด [[เกรีย]] ({{lang|es|''cria''}}) จะมีช่วงน้ำหนักที่ระหว่าง 9-14 กิโลกรัม (20-30 ปอนด์) ยามามีช่วงชีวิตที่ประมาณ 20-30 ปีขึ้นอยู่กับการดูแล{{อ้างอิง}} ยามาเป็นสัตว์สังคมและอาศัยร่วมกับยามาตัวอื่น ๆ ในลักษณะของ[[ฝูงสัตว์]] ขนสัตว์ที่ผลิตจากยามาจะมีความนุุ่มมากและปราศจาก[[ลาโลนิน]] (ไขจากขนสัตว์) ยามาเป็นสัตว์ที่เฉลียวฉลาดและสามารถเรียนรู้งานง่าย ๆ ได้หลังจากทำซ้ำเพียงไม่กี่ครั้ง เมื่อ[[กระเป๋าสะพายหลัง|แบกสัมภาระ]] ยามาสามารถแบกสิ่งของได้ราวร้อยละ 25-30 ของน้ำหนักตัวในการเดินทางในระยะ 8-13 กิโลเมตร (5-8 ไมล์)<ref name="OK State">
ยามา ใน[[ภาษาจีน]]มีความหมายตรงตัวว่า อูฐแกะใหญ่ (大羊駝 อ่าน ''ต้า-หยาง-ถัว'', [[พินอิน]]: dà yáng tuó; ส่วน อูฐแกะ เฉย ๆ แปลว่า อัลปากา) เนื่องจากว่ายามาเป็นสัตว์ที่มีสายพันธ์ใกล้[[อูฐ]]และรูปร่างเหมือน[[แกะ]]

== ลักษณะ ==
ยามามีส่วนสูงในช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ระหว่าง 1.70 เมตร (5.5 ฟุต) ถึง 1.80 เมตร (6 ฟุต) โดยวัดจากส่วนบนสุดของหัว พวกมันมีน้ำหนักตัวอยู่ระหว่าง 130-200 กิโลกรัม (280-450 ปอนด์) ในช่วงแรกเกิด [[เกรีย]] ({{lang|es|cria}}) จะมีช่วงน้ำหนักที่ระหว่าง 9-14 กิโลกรัม (20-30 ปอนด์) ยามามีช่วงชีวิตที่ประมาณ 20-30 ปีขึ้นอยู่กับการดูแล{{อ้างอิง}} ยามาเป็นสัตว์สังคมและอาศัยร่วมกับยามาตัวอื่น ๆ ในลักษณะของ[[ฝูงสัตว์]] ขนสัตว์ที่ผลิตจากยามาจะมีความนุ่มมากและปราศจาก[[ลาโลนิน]] (ไขจากขนสัตว์) ยามาเป็นสัตว์ที่เฉลียวฉลาดและสามารถเรียนรู้งานง่าย ๆ ได้หลังจากทำซ้ำเพียงไม่กี่ครั้ง เมื่อ[[กระเป๋าสะพายหลัง|แบกสัมภาระ]] ยามาสามารถแบกสิ่งของได้ราวร้อยละ 25-30 ของน้ำหนักตัวในการเดินทางในระยะ 8-13 กิโลเมตร (5-8 ไมล์)<ref name="OK State">
{{cite web
{{cite web
|url=http://www.ansi.okstate.edu/breeds/other/llama/
|url=http://www.ansi.okstate.edu/breeds/other/llama/
บรรทัด 24: บรรทัด 37:
|title=Llama
|title=Llama
|date=2007-06-25}}</ref>
|date=2007-06-25}}</ref>
==ความเชื่อ==

ในบางพื้นที่ของทวีปอเมริกาใต้ เชื่อว่า ลูกยามาตากแห้งจะเป็นสิ่งนำโชค มีขายในท้องตลาด เช่น ที่เมือง[[ลาปาซ]] เมืองสำคัญที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลมากกว่า 3,500 เมตร ในประเทศ[[โบลิเวีย]]<ref>''มนต์เสน่ห์สวรรค์บนดิน (Travelogue Earth)''. สุดยอดสารคดีสุดสัปดาห์: อาทิตย์ที่ 7 พฤษภาคม 2560 ทาง[[ช่อง 7]]</ref>
ยามามีต้นกำเนิดจากที่ราบตอนกลางของ[[อเมริกาเหนือ]]ในช่วง 40 ล้านปีที่ผ่านมา แล้วพวกมันก็ได้อพยพไปยัง[[อเมริกาใต้]]เมื่อประมาณ 3 ล้านปีที่ผ่านมา เมื่อถึงช่วงปลาย[[ยุคน้ำแข็ง]] (10,000-12,000 ปีก่อน) สัตว์ตระกูลอูฐก็สูญพันธุ์ไปจากอเมริกาเหนือแล้ว<ref name="OK State"/> ณ ปี ค.ศ. 2007 มียามาและ[[อัลปากา]]กว่า 7 ล้านตัวในอเมริกาใต้ และเนื่องจากการนำเข้าจากอเมริกาใต้ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ทุกวันนี้จึงมียามากว่า 158,000 ตัว รวมถึงอัลปากาอีกกว่า 100,000 ตัวใน[[สหรัฐอเมริกา]]และ[[แคนาดา]]<ref name="Numbers">
{{cite web
|url=http://www.scla.us/llamafacts.html
|author=South Central Llama Association
|title=Llama Facts
|date=2009-01-22}}</ref>

== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[อัลปากา]]
* [[อัลปากา]]
บรรทัด 39: บรรทัด 46:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{สถานีย่อย2|โลกของสัตว์}}
{{wikispecies|Lama glama|ยามา}}
{{คอมมอนส์|Lama glama|Llama}}
{{wikispecies-inline|Lama glama}}
{{คอมมอนส์|Lama glama|ยามา}}
* {{Cite web|url=http://www.llamapaedia.com/gifs/orgle.aiff|title=Llamapaedia Orgle Sound|format=AIFF}}
* {{Cite web|url=http://www.llamapaedia.com/gifs/orgle.aiff|title=Llamapaedia Orgle Sound|format=AIFF|access-date=2012-01-14|archive-date=2007-10-30|archive-url=https://web.archive.org/web/20071030063729/http://www.llamapaedia.com/gifs/orgle.aiff|url-status=dead}}
* [http://www.life.com/image/first/in-gallery/22395/llamas-and-alpacas-close-up Llamas Close Up] - slideshow by ''Life magazine''
* [http://www.life.com/image/first/in-gallery/22395/llamas-and-alpacas-close-up Llamas Close Up] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20101012212903/http://www.life.com/image/first/in-gallery/22395/llamas-and-alpacas-close-up |date=2010-10-12 }} - slideshow by ''Life magazine''


[[หมวดหมู่:สัตว์เชื่อง]]
[[หมวดหมู่:ปศุสัตว์]]
[[หมวดหมู่:ปศุสัตว์]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม]]
[[หมวดหมู่:มหสัตว์]]
{{โครงสัตว์}}
{{โครงสัตว์}}
{{Link GA|eo}}

[[ar:لاما]]
[[ay:Qawra]]
[[az:Lama]]
[[bat-smg:Lama]]
[[be:Лама, жывёла]]
[[bg:Лама (животно)]]
[[bn:লামা (প্রাণী)]]
[[ca:Llama]]
[[cs:Lama krotká]]
[[cy:Lama (anifail)]]
[[da:Lama (pattedyr)]]
[[de:Lama (Kamel)]]
[[el:Λάμα]]
[[en:Llama]]
[[eo:Lamo]]
[[es:Lama glama]]
[[et:Laama (loom)]]
[[fa:لاما]]
[[fi:Laama]]
[[fr:Lama (animal)]]
[[ga:Láma]]
[[gl:Llama]]
[[he:למה מצויה]]
[[hi:लामा (पशु)]]
[[hr:Ljama]]
[[ht:Lama]]
[[hu:Láma]]
[[ia:Llama]]
[[id:Llama]]
[[io:Lamao (mamifero)]]
[[it:Lama glama]]
[[ja:リャマ]]
[[jv:Llama]]
[[ko:라마]]
[[la:Lama glama]]
[[lt:Lama]]
[[lv:Lama]]
[[mhr:Лама (тӱрлык)]]
[[mk:Лама]]
[[ml:ല്ലാമ]]
[[mn:Лам гөрөөс]]
[[mr:लामा]]
[[ms:Llama]]
[[my:လာမာကုလားအုပ်]]
[[nah:Yama]]
[[nl:Lama (dier)]]
[[nn:Lama]]
[[no:Lama]]
[[nv:Shádiʼááhdę́ę́ʼ tłʼízí]]
[[pl:Lama]]
[[pt:Lhama]]
[[qu:Llama]]
[[ro:Lamă]]
[[ru:Лама (животное)]]
[[sh:Ljama]]
[[simple:Llama]]
[[sk:Lama krotká]]
[[sl:Lama (žival)]]
[[sr:Лама]]
[[sv:Lama]]
[[szl:Lama]]
[[ta:இலாமா]]
[[tr:Lama (hayvan)]]
[[udm:Лама (пӧйшур)]]
[[uk:Лама (тварина)]]
[[vi:Llama]]
[[vls:Lama]]
[[zh:大羊駝]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 07:27, 20 พฤษภาคม 2567

ยามา
ยามาขณะนอนราบอยู่
สถานะการอนุรักษ์
สัตว์เลี้ยงหรือปศุสัตว์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Camelidae
สกุล: Lama
สปีชีส์: L.  glama
ชื่อทวินาม
Lama glama
(Linnaeus, 1758)
การจัดแสดงยามาในสวนสัตว์ไทย

ยามา[1] หรือ ลามา[2] (สเปน: llama,[3][4] ออกเสียง: [ˈʎama ~ ˈʝama]; เกชัว: llama, เสียงอ่าน: /ˈʎama/;[5] อังกฤษ: llama, ออกเสียง: /ˈjɑːmə, ˈlɑːmə/;[6] ชื่อวิทยาศาสตร์: Lama glama) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมในวงศ์อูฐ (camelid) ของทวีปอเมริกาใต้ ซึ่งเป็นรู้จักกันอย่างแพร่หลายในวัฒนธรรมของชาวแอนดีสตั้งแต่สมัยก่อนการเข้ามาของชาวสเปน

ถิ่นกำเนิด[แก้]

ยามามีต้นกำเนิดจากที่ราบตอนกลางของอเมริกาเหนือในช่วง 40 ล้านปีที่ผ่านมา แล้วพวกมันก็ได้อพยพไปยังอเมริกาใต้เมื่อประมาณ 3 ล้านปีที่ผ่านมา เมื่อถึงช่วงปลายยุคน้ำแข็ง (10,000-12,000 ปีก่อน) สัตว์ตระกูลอูฐก็สูญพันธุ์ไปจากอเมริกาเหนือแล้ว[7] ณ ค.ศ. 2007 มียามาและอัลปากากว่า 7 ล้านตัวในอเมริกาใต้ และเนื่องจากการนำเข้าจากอเมริกาใต้ในช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ทุกวันนี้จึงมียามากว่า 158,000 ตัว รวมถึงอัลปากาอีกกว่า 100,000 ตัวในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา[8]

ชื่อในภาษาอื่น[แก้]

ยามา ในภาษาจีนมีความหมายตรงตัวว่า อูฐแกะใหญ่ (大羊駝 อ่าน ต้า-หยาง-ถัว, พินอิน: dà yáng tuó; ส่วน อูฐแกะ เฉย ๆ แปลว่า อัลปากา) เนื่องจากว่ายามาเป็นสัตว์ที่มีสายพันธ์ใกล้อูฐและรูปร่างเหมือนแกะ

ลักษณะ[แก้]

ยามามีส่วนสูงในช่วงโตเต็มวัยอยู่ที่ระหว่าง 1.70 เมตร (5.5 ฟุต) ถึง 1.80 เมตร (6 ฟุต) โดยวัดจากส่วนบนสุดของหัว พวกมันมีน้ำหนักตัวอยู่ระหว่าง 130-200 กิโลกรัม (280-450 ปอนด์) ในช่วงแรกเกิด เกรีย (cria) จะมีช่วงน้ำหนักที่ระหว่าง 9-14 กิโลกรัม (20-30 ปอนด์) ยามามีช่วงชีวิตที่ประมาณ 20-30 ปีขึ้นอยู่กับการดูแล[ต้องการอ้างอิง] ยามาเป็นสัตว์สังคมและอาศัยร่วมกับยามาตัวอื่น ๆ ในลักษณะของฝูงสัตว์ ขนสัตว์ที่ผลิตจากยามาจะมีความนุ่มมากและปราศจากลาโลนิน (ไขจากขนสัตว์) ยามาเป็นสัตว์ที่เฉลียวฉลาดและสามารถเรียนรู้งานง่าย ๆ ได้หลังจากทำซ้ำเพียงไม่กี่ครั้ง เมื่อแบกสัมภาระ ยามาสามารถแบกสิ่งของได้ราวร้อยละ 25-30 ของน้ำหนักตัวในการเดินทางในระยะ 8-13 กิโลเมตร (5-8 ไมล์)[7]

ความเชื่อ[แก้]

ในบางพื้นที่ของทวีปอเมริกาใต้ เชื่อว่า ลูกยามาตากแห้งจะเป็นสิ่งนำโชค มีขายในท้องตลาด เช่น ที่เมืองลาปาซ เมืองสำคัญที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลมากกว่า 3,500 เมตร ในประเทศโบลิเวีย[9]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. "หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาสเปน." ใน หลักเกณฑ์การทับศัพท์ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาอิตาลี ภาษาสเปน ภาษารัสเซีย ภาษาญี่ปุ่น ภาษาอาหรับ ภาษามลายู ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2535, หน้า 64.
  2. "สารานุกรมสัตว์ : ลามา". องค์การสวนสัตว์. ม.ป.ป. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)CS1 maint: url-status (ลิงก์)[ลิงก์เสีย]
  3. Real Academia Española. Diccionario de la lengua española - 22.ª edición. Madrid: Espasa-Calpe, 2001, pág. 941.
  4. Collins Spanish-English Dictionary. "llama 1." [Online]. Available: http://www.collinsdictionary.com/dictionary/spanish-english/llama?showCookiePolicy=true [n.d.]. Retrieved September 1, 2012.
  5. UCLA Department of Linguistics. "The UCLA Phonetics Lab Archive: Word List for Quechua, South Bolivian (Cochabamba dialect) 1983-01." [Online]. Available: http://archive.phonetics.ucla.edu/Language/QUH/quh_word-list_1985_01.html 2007. Retrieved September 1, 2012.
  6. Jones, Daniel. Edited by Roach, Peter; Setter, Jane; and Esling, John. Cambridge English Pronouncing Dictionary 18th edition. Cambridge: Cambridge University Press, 2011, p. 292.
  7. 7.0 7.1 "Llama". Oklahoma State University. 2007-06-25.
  8. South Central Llama Association (2009-01-22). "Llama Facts".
  9. มนต์เสน่ห์สวรรค์บนดิน (Travelogue Earth). สุดยอดสารคดีสุดสัปดาห์: อาทิตย์ที่ 7 พฤษภาคม 2560 ทางช่อง 7

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Lama glama ที่วิกิสปีชีส์